1. 5.ปัจจัยสู่ความสำเร็จของการทำงานเป็นทีม
1.1. 5.1 ปัจจัยด้านองค์ประกอบ
1.1.1. 1)องค์ประกอบด้านสมาชิกกลุ่ม
1.1.1.1. (1) มีเจตนาที่ดี และตั้งใจทำงาน (The will to Work)
1.1.1.2. (2) มีทักษะในการทำงานนั้น (The skill to Work) เชื่อมั่นในความสามารถของสมาชิกด้วยกัน
1.1.1.3. (3) มีความร่วมมือและประสารกันอย่างดี (Cooperation and Coordination)
1.1.1.4. (4) มีมนุษยสัมพันธ์ (Human Relationship)
1.1.2. 2) องค์ประกอบด้านผู้นำกลุ่ม
1.1.2.1. (1) V-Vision Development พัฒนาวิสัยทัศน์
1.1.2.2. (2) I-Invite Dissent เชื้อเชิญความเห็นที่แตกต่าง
1.1.2.3. (3) C-Cool to be Act ใจเย็น ผู้นำควรรักษาระดับอารมณ์ของตนเองให้มั่นคง
1.1.2.4. (4) T-Trust Our Subordinate ความไว้วางใจผู้ใต้บังคับบัญชา
1.1.2.5. (5) O-Opportunity การให้โอกาส
1.1.2.6. (6) R-Risk Encouragement การกระตุ้นให้กล้าเสี่ยง
1.1.2.7. (7) E-Expert ผู้ชำนาญการ
1.1.3. 3) องค์ประกอบด้านการจัดรูปแบบกลุ่ม
1.1.3.1. (1) มีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนระหว่างสมาชิก
1.1.3.2. (2) มีการให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ในการดำเนินงาน
1.1.3.3. (3) มีระบบระเบียบ
1.1.3.4. (4) มีกระบวนการทำงานที่เป็นระบบ
1.2. 5.2 ปัจจัยด้านพฤติกรรมกลุ่ม
1.2.1. 1) P = SMOKE
1.2.2. 2) สูตรสำเร็จของการทำงานเป็นทีม (Team Work)
1.2.3. 3) ธรรมชาติแห่งพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
1.3. 5.3 ปัจจัยด้านบทบาทความรับผิดชอบของสมาชิก
1.3.1. (1) ขั้นตอนการวิเคราะห์ตนเอง (Self – Analysis)
1.3.2. (2) ขั้นวิเคราะห์และทำความรู้จักสมาชิกภายในทีม
1.3.3. (3) ขั้นทำความเข้าใจทีมงาน ให้เกียรติซึ่งกันและกัน
1.3.4. (4) ขั้นลงมือปฏิบัติงาน
2. 6.บทบาทของสมาชิกในทีมงาน
2.1. 6.1 ผู้มีความคิดสร้างสรรค์ – ผู้มีความคิดริเริ่ม (Creator – innovators)
2.2. 6.2 ผู้สำรวจ – ผู้ส่งเสริม (Explorer – promoters)
2.3. 6.3 ผู้ประเมิน – ผู้พัฒนา (Assessor – developers)
2.4. 6.4 ผู้ทำหน้าที่กระตุ้น – ผู้ทำหน้าที่จัดระเบียบ (Thruster – organizers)
2.5. 6.5 ผู้ลงความเห็น – ผู้สร้าง (Controller –producers)
2.6. 6.6 ผู้ควบคุม –ผู้ตรวจสอบ (Controller – inspectors)
2.7. 6.7 ผู้สนับสนุน – ผู้บำรุงรักษา (Upholders – maintainers)
2.8. 6.8 ผู้รายงาน – ที่ปรึกษา (Reporter – advisers)
2.9. 6.9 ผู้เชื่อมโยง (Linkers) มีหน้าที่ประสานงานกับบุคคลภายในกลุ่ม
3. 7.ขั้นตอนการสร้างทีมงาน
3.1. 7.1 การกำหนดภารกิจหรืองานที่ทำ
3.2. 7.2 สร้างความเข้าใจกับสมาชิก
3.3. 7.3 ระดมความคิด
3.4. 7.4 คัดเลือกความคิด
3.5. 7.5 กำหนดแผนปฏิบัติงาน
3.6. 7.6 การปฏิบัติตามแผน
3.7. 7.7 การประเมินผลและข้อมูลป้อนกลับ
4. 8.ลักษณะของทีมงานที่มีประสิทธิภาพ
4.1. 8.1 กำหนดนโยบาย
4.2. 8.2 มุ่งขายความคิด
4.3. 8.3 ร่วมจิตแก้ไข
4.4. 8.4 เข้าใจหน้าที่
4.5. 8.5 มีการสื่อสาร
4.6. 8.6 สรรค์สร้างริเริ่ม
4.7. 8.7 ส่งเสริมผู้นำ
4.8. 8.8 กำจัดความขัดแย้ง
4.9. 8.9 แข็งแกร่งจริงใจ
5. 9. อุปสรรคของการทำงานเป็นทีม
5.1. 9.1 อุปสรรคจากผู้น้ำหรือหัวหน้าทีมงาน
5.1.1. 1. ขาดการวางแผนและวางแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจน
5.1.2. 2. ขาดการวางแผน/แนวทางการปฏิบัติที่มั่นคง
5.1.3. 3. ไม่มีการจัดสายงานที่ชัดเจนเหมาะสม
5.1.4. 4. คำสั่งที่ไม่ชัดเจนหรือเปลี่ยนแปลงบ่อย
5.1.5. 5. ขาดการติดตามงานที่ดีขาดการติดตามงานที่ดี
5.2. 9.2 อุปสรรคจากสมาชิกในทีมงาน
5.2.1. 1. ขาดความร่วมมือในการทำงาน
5.2.2. 2. ขาดการเรียงลำดับขั้นตอนการสำคัญในการปฏิบัติงาน
5.2.3. 3. ขาดความชำนาญในแต่ละตำแหน่งงาน
5.2.4. 4. ขาดการยอมรับซึ่งกันและกัน
5.2.5. 5. ขาดความศรัทธาในศักยภาพของผู้บริหารและการมีปฏิกิริยาในทางลบต่อผู้บริหาร
5.2.6. 6. ไม่เห็นความสำคัญของการทำงานเป็นทีม
5.2.7. 7. ไม่มีใครกล้าแสดงความคิดเห็น
6. 1.ความหมายของการสร้างทีม
6.1. การจัดการด้านพลังกลุ่มคนที่มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน และต้องการทำงานร่วมกันเพื่อให้งานหรือกิจกรรมนั้นๆ บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
7. 2.วัตถุประสงค์ของการสร้างทีมงาน
7.1. (1) เพื่อให้สมาชิกเข้าใจหน้าที่ของตนเอง
7.2. (2) เพื่อให้สมาชิกแต่ละคนมีความเข้าใจเกี่ยวกับกฏ ข้อบังคับของกลุ่มดีขึ้น
7.3. (3) เพื่อสร้างความไว้ใจซึ่งกันและกันในสมาชิก และยอมรับศักยภาพของแต่ละบุคคล
7.4. (4) เพื่อให้การสื่อสารระหว่างสมาชิกเกี่ยวกับเรื่องต่างๆดีขึ้น
7.5. (5) เพื่อสร้างทักษะความเชี่ยวชาญให้เพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นการใช้ทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพของกลุ่ม
7.6. (6) เพื่อให้สมาชิกแต่ละคนได้เรียนรู้วิธีการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
7.7. (7) เพื่อให้การสนับสนุนด้านการพัฒนาบุคลิกภาพ มีการเยนรู้ที่จะรับฟังความคิดเห็น และข้อมูลข่าวสารของผู้อื่นอย่างตั้งใจ และให้เกียรติซึ่งกันและกัน
7.8. (8) เพื่อพัฒนาทักษะในการแก้ปัญหาร่วมกัน ทำให้ช่วยลดความขัดแย้งระหว่างบุคคล
7.9. (9) เพื่อส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในหมู่สมาชิกของทีมงาน และเป็นการสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน
7.10. (10) เพื่อเพิ่มพูนความสามารถของทีมที่จะทำงานร่วมกับทีมงานอื่นๆในองค์การ
8. 3.ประเภทของทีมงาน
8.1. แบ่งตามรูปแบบการบริหาร
8.1.1. 3.1 ทีมระดับสูง
8.1.1.1. (1) พัฒนากลยุทธ์ โดยการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมและกำหนดทิศทางขององค์การ ประเมินการแข่งขันและระบุโอกาสของการดำเนินงาน
8.1.1.2. (2) ทำความกระจ่างในค่านิยม ว่าอะไรถูก อะไรผิด
8.1.1.3. (3) ควบคุมการทำงาน การออกคำสั่งในการตัดสินใจที่สำคัญรวมไปถึงการติดตามความก้าวหน้า
8.1.1.4. (4) การทำหน้าที่เสมือนสัญลักษณ์ขององค์การ โดยการรักษาการติดต่อของทีมระดับสูงกับบุคคลหรือองค์การจากภายนอก การประกันว่าองค์การมีประสิทธิภาพที่เหมาะสมและกำหนดนโยบาย
8.1.2. 3.2 ทีมบริหาร
8.1.2.1. เป็นผู้จัดตั้งจุดมุ่งหมายที่มีรายละเอียดการปฏิบัติงาน ทำหน้าที่ประสานงานและควบคุมการทำงาน ได้แก่ หัวหน้าฝ่ายต่างๆ เป็นต้น
8.1.3. 3.3 ทีมปฏิบัติงาน
8.1.3.1. เป็นฝ่ายที่ทำงานให้สำเร็จตาวัตถุประสงค์ของงาน อาจต้องทำงานกับเครื่องจักร หรืออาจเป็นฝ่ายขนย้ายรบส่งสินค้า
8.1.4. 3.4 ทีมวิศวเทคนิค
8.1.4.1. เป็นฝ่ายจัดตั้งมาตรฐานในองค์การ อาจเป็นมาตรฐานทางเทคนิค,การผลิต,การบริการ
8.1.5. 3.5 ทีมฝ่ายสนับสนุน
8.1.5.1. จะให้การสนับสนุนทางอ้อม เช่น PR.
8.2. แบ่งตามวัตถุประสงค์
8.2.1. 1. ทีมแก้ปัญหา(Problem – solving Team)
8.2.1.1. ประกอบด้วยผู้บริหารและพนักงานที่มารวมกลุ่มด้วยความสมัครใจและประชุมกันอย่างสม่ำเสมอ
8.2.2. 2. ทีมบริหารตนเอง (Self-managing Team)
8.2.2.1. สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่องานหนึ่งๆ โดยไม่มีการควบคุมบังคับบัญชาในแต่ละวันและปฏิบัติงานอย่างเป็นอิสระ
8.2.3. 3. ทีมที่มีจุดมุ่งหมายพิเศษ (Spacial-purpose Team) หรือทีมข้ามหน้าที่ (Cross-functional)
8.2.3.1. เป็นทีมงานที่จัดตั้งจากการรวบรวมบุคคลในหน่วยงานต่างเข้าด้วยกัน