시작하기. 무료입니다
또는 회원 가입 e메일 주소
พอลิเมอร์ POLYMEOS 저자: Mind Map: พอลิเมอร์ POLYMEOS

1. พอลิเมอร์วัลคาไนเซชัน

1.1. ผลิตภัณฑ์ที่ได้

1.1.1. ยางสังเคราะห์เกิดจากพอลิเมอร์

1.1.2. กำมะถันไปช่วยเชื่อมระหว่างโซ่ของพอลิเมอร์โซพรีน

1.1.3. ยาง S.B.R เกิดจากการพอลิเมอร์ไรโซชันระหว่างสไตรีนกับบิวตาไดอีน

2. พอลิเมอร์ไรเซชัน

2.1. พอลิเมอร์แบบควบแน่น

2.1.1. -ได้มอนอเมอร์และโมเลกุลขนาดเล็ก -มอนอเมอร์ที่มีฟังก์ชั่นมากกว่า 1 สารหลายชนิด

2.2. พอลิเมอร์แบบเติม

2.2.1. -ได้พอลิเมอร์อย่างเดียวไม่เจือปน -บริเวณเดียวกันจับคู่กันด้วยพันธะคู่

3. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพอลิเมอร์

3.1. พลาสติก

3.1.1. แบ่งได้ 2 ชนิด คือ

3.1.1.1. 🔺เทอร์โมพลาสติก -อ่อนตัวเมื่อถูกความร้อน -แข็งตัวติดไฟได้ -หลอมกลับมาใช้ใหม่ได้ -โครงสร้างแบบเส้นและแบบกิ่ง -PE,PP,PS,PVC

3.1.1.2. 🔺เทอร์มอเซตพลาสติก -คงรูปดี -ไม่อ่อนตัวเมื่อถูกความร้อน -ถูกไฟไหม้จะแตกเป็นรอย -ไม่สามารถหลอมกลับมาใช้ใหม่ได้ -โครงสร้างแบบร่างแห -เมลามีน,ซิลิโคน,เบกาไลต์,ยูรีเทน

3.2. เส้นใย

3.2.1. แบ่งได้ 3 ชนิด คือ

3.2.1.1. เส้นใยธรรมชาติ

3.2.1.1.1. -เส้นใยเซลลูโลส : ฝ้าย ปอ ลินิน -เส้นใยโปรตีน : ขนสัตว์ เช่น ขนแกะ ขนแพะ -เส้นใยไหม : รังไหม -เส้นใยหิน : แร่หินต่างๆ ข้อดี คือ ระบายอากาศได้ดีสวมใส่สบาย ข้อเสีย คือ ดูดซึมน้ำได้ดี ยับง่าย แห้งช้า ไม่ทนต่อเชื้อราสารเคมี

3.2.1.2. เส้นใยสังเคราะห์

3.2.1.2.1. สังเคราะห์ 100% อนุภาคเป็นระเบียบกว่าเส้นใยธรรมชาติ ผลิตมาใช้กับงานหลายประเภท เช่น ไนลอน (พอลิเอไมด์), พอลิเอสเทอร์,โอริน (พอลิอะคริโลไนไตรล์) คือ ไม่ยับง่าย ไม่ซับน้ำ แห้งเร็ว ทนต่อเชื้อรา ระบายความร้อนได้ดี

3.2.1.3. เส้นใยกึ่งสังเคราะห์

3.2.1.3.1. เส้นใยธรรมชาติทำปฏิกิริยากับพอลิเมอร์ไรเซชันกับสารเคมี คุณภาพดีกว่าเส้นใยธรรมชาติ เช่น เซลลูโลสแอซีเตต,ไนโตรเซลลูโลส,เรยอน -เซลลูโลสแอซีเตต สามารถนำมาผลิตแผ่นพลาสติกทำแผ่นสวิตซ์และฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า -เรย่อน ใช้อุตสาหกรรมเสื้อผ้ามีคุณสมบัติคล้ายกับขนสัตว์

3.3. ยาง

3.3.1. แบ่งได้ 2 ประเภท คือ

3.3.1.1. ยางธรรมชาติ

3.3.1.1.1. ต้นยางพารา น้ำยาง เป็นของเหลวสีขาว ชื่อ พอลิโฮโซพรีน

3.3.1.2. ยางสังเคราะห์

3.3.1.2.1. สังเคราะห์จากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและพอลิเมอร์ มีโครงสร้างสามารถนำมาเป็นสินค้าหรือเส้นใยได้

4. ความหมายของพอลิเมอร์

4.1. สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และมีโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยเล็กๆ ของสารที่อาจจะเหมือนกันหรือแตกต่างกันซึ่งต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์

4.2. มอนอเมอร์ คือ สารตั้งต้นที่ใช้เตรียมพอลิเมอร์ส่วนใหญ่เป็นสารไม่อิ่มตัวขนาดเล็กๆ

5. ชนิดของพอลิเมอร์ แบ่งได้เป็น 2 ชนิด

5.1. พิจารณาตามแหล่งกำเนิดแบ่งได้ 2 ชนิด คือ

5.1.1. พอลิเมอร์ธรรมชาติ ได้แก่ แป้ง เซลลูโลส ไคติน เป็นต้น

5.1.2. พอลิเมอร์สังเคราะห์ ได้แก่ พลาสติก โพรพิลีน สไตรีน เป็นต้น

5.2. พิจารณาตามมอนอเมอร์ที่เป็นองค์ประกอบแบ่งได้ 2 ชนิด คือ

5.2.1. 🔺โฮโมพอลิเมอร์ (พอลิเมอร์เอกพันธ์) ประกอบด้วยมอนอเมอร์ชนิดเดียวกัน เช่น พอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC)

5.2.2. 🔺โคพอลิเมอร์ (พอลิเมอร์ร่วม) ประกอบด้วยมอนอเมอร์ต่างชนิดกัน เช่น ไนลอน โปรตีน พอลิเอไมด์ ยาง (SBR)

6. โครงสร้างของพอลิเมอร์

6.1. โครงสร้างแบบเส้น ~~~~~~~~~~~~~ ~~~~~~~~~~~~~

6.1.1. -มอนอเมอร์ต่อกันยาวเป็นโซ่ -มีความหนาแน่ จุดหลอมเหลวสูง -มีความยืดหยุ่นมาก อ่อนตัวเมื่อถูกความร้อน -เชือก,PVC,ขวดน้ำ

6.2. โครงสร้างแบบกิ่ง ~~~√~~~√~~~~ ~~~~√~~~√~~~

6.2.1. -โซ่กิ่งแยกออกจากโครงสร้างหลัก -พอลิเมอร์ไม่เรียงชิดติดกัน -มีความหนาแน่น จุดหลอมเหลวต่ำ -มีความยืดหยุ่นน้อย อ่อนตัวเมื่อถูกความร้อน -ถุงใส่ของร้อน

6.3. โครงสร้างแบบร่างแห ~~~~~~|~~~~~|~~ ~~|~~~~~~|~~~~~

6.3.1. -มอนอเมอร์ที่มีหมู่ฟังก์ชันอย่างน้อย 2 หมู่รวมกัน -แข็งแรงและเหนียวมาก -ไม่ยืดหยุ่น ถูกความร้อนไม่อ่อนตัวแตกร้าว -เปราะหักง่าย -เบกาไลต์,เมลามีน

7. พลาสติกรีไซเคิล

7.1. PETE

7.1.1. -ใส มองทะลุได้ -แข็งแรงทนทาน,เหนียว

7.1.1.1. ขวดน้ำดื่ม,ขวดน้ำปลา, ขวดน้ำมันพืช

7.2. HDPE

7.2.1. -ความหนาแน่นสูง -นิ่ม,เหนียว -ไม่แตกง่าย

7.2.1.1. -ขวดแชมพู,ขวดนม -ถุงร้อนชนิดขุ่น

7.3. PVC

7.3.1. -แข็งแรงและนิ่ม -ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ได้ -สีสันสวยงาม

7.3.1.1. -ท่อ PVC -สายยาง

7.4. LDPE

7.4.1. -มีความหนาแน่นต่ำ -นิ่มกว่า HDPE,เหนียว -ยืดตัวได้,ใส

7.4.1.1. -ทำแผ่นฟิล์ม -พลาสติกห่ออาหาร

7.5. PP

7.5.1. -ความหนาแน่นต่ำ -แข็งแรงเหนียว,คงรูป -ทนความร้อนสารเคมี

7.5.1.1. -ถุงร้อนชนิดใส -จาน,ชาม -อุปกรณ์ไฟฟ้าบางชนิด

7.6. PS

7.6.1. -ใส -แข็งแรงแต่เปราะแตกง่าย

7.6.1.1. โฟม

7.7. อื่นๆ

7.7.1. ถังน้ำ