ยาที่มีฤทธิ์ต่อระบบประสาทCNs

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ยาที่มีฤทธิ์ต่อระบบประสาทCNs by Mind Map: ยาที่มีฤทธิ์ต่อระบบประสาทCNs

1. มีผลข้างเคียงน้อยกว่า

2. ยารักษาโรคจิตเภท (Antipsychotic)

2.1. กลุ่ม typical antipsychotic

2.1.1. dibenzoxazepines

2.1.2. Phenothiazine

2.1.3. butyrophenerones

2.2. กลไก

2.2.1. ปิดกั้น D2 receptor ในสมอง

2.3. การใช้

2.3.1. ลดพฤติกรรมก้าวร้าว

2.3.1.1. แก้อาการสะอึก

2.4. ผลข้างเคียง

2.4.1. ง่วง ปากแห้ง ปัสสาวะคั่ง เพิ่มการหลั่ง prolactin ลดการหลั่ง FSH

2.5. กลุ่ม atypical antipsychotics

2.5.1. กลไก

2.5.1.1. ปิดกั้นreceptor D2

2.5.2. คลินิก

2.5.2.1. ผลข้างเคียง

2.5.2.1.1. กลูโคสในเลือดสูง

2.5.2.1.2. เม็ดเลือดขาวต่ำ

2.5.2.1.3. คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ

2.5.3. การใช้

2.5.3.1. อารมณ์แปรปรวน ผู้ป่วยพาร์กินสัน จิตเภท

3. ยานอนหลับและยาระงับประสาท (sedative -Hypronotic and anxiolytic)

3.1. Sedative ทำให้ง่วง

3.2. Hypnotic ทำให้หลับ

3.3. Anxiolytic ยาคลายกังวล

3.4. ประเภท

3.4.1. Benzidines

3.4.1.1. Lorazepam

3.4.1.2. Midazolam

3.4.1.3. Diazepam

3.4.2. กลไก

3.4.2.1. ยาจับกับ GABA receptor

3.4.3. อาการ มึนศีรษะ รับรู้ช้า กดการหายใจ

3.4.4. การแพ้

3.4.4.1. Flumazenil

3.4.4.2. ฉีดเข้า Iv ระวังชัก

4. ยาต้านอาการชัก (Antiepileptic)

4.1. กลุ่ม seizures

4.1.1. Partial

4.1.1.1. คลื่นไฟฟ้าผิดปกติ

4.1.1.2. Conscious ness ผิดปกติ

4.1.2. Deneralized

4.1.2.1. คลื่นไฟฟ้าผิดปกติ cerebral cortex

5. ยาระงัยอาการปวดศีรษะเฉียบพลัน (acute attack)

5.1. Paracetamol

5.1.1. Nonsteroidal (NSAIDs)

5.2. Serotonin agonist

5.2.1. Triptan

5.2.2. Ergotalkaloids

5.2.2.1. ทำให้เลือดหดตัว

5.3. สาร ergot alkaloids

5.3.1. รักษาไมเกรนเฉียบพลัน

5.3.2. ผลข้างเคียง

5.3.2.1. หลอดเลือดหดตัว

5.3.2.2. มดลูกบีบตัว

5.3.2.2.1. ไม่ควรทานเกิน 6 เม็ด/วัน

6. ยาชาเฉพาะที่ (Local anesthetics)

6.1. Amides

6.1.1. Esters

6.1.1.1. Benzocaine

6.1.1.2. Cocaine

6.1.2. Prilocaine

6.1.3. Bupivacain

7. ยากระตุ้นCNS /ยาลดความอยากอาหาร

7.1. กลุ่ม Amphetamine

7.1.1. Amphetamine

7.1.1.1. เพิ่มการหลั่ง catecholamines

7.1.2. Pheentermine

7.1.2.1. เหมือนยาลดน้ำหนัก ดื้อยาใน 2week-2 month

7.2. กลุ่ม Methylxanthines

7.2.1. Caffeine

7.2.2. Theophylline

7.2.3. Theobromine

7.2.4. ประโยชน์ : แก้หอบหืด

8. ยาฉีดสลบ

8.1. กลไก

8.1.1. ปิดกั้นการส่งกระแสประสาท

8.2. ผลข้างเคียง

8.2.1. กระวนกระวาย

8.2.2. หายใจเต้นเร็ว

8.3. คลินิก

8.3.1. ยาทาเฉพาะที่

8.3.2. ยาฉีดรอบแผล

8.4. ปฏิกิริยาระหว่างยา

8.4.1. คลายกล้ามเนื้อ

8.5. ประเภท

8.5.1. Thiopental

8.5.2. Propofol

8.5.3. Lidocaine

8.5.4. Bupivacain

9. ยาต้านอาการซึมเศร้า (Antidepressants)

9.1. Mood stabilizer

9.1.1. ยาลดอาการคลั่ง ซึมเศร้า

9.1.2. Lithium carbonate

9.1.2.1. ผลข้างเคียง

9.1.2.1.1. หัวใจเต้นช้า ผิดจังหวะ

9.1.2.1.2. เกิดง่วงซึม สับสน

9.1.2.1.3. ขาดไทรอยด์ฮอร์โมน

9.1.2.1.4. ภาวะเบาจืด

10. ยารักษาการเสื่อม ระบบประสาท

10.1. Alzheimer's

10.1.1. Choinesterase-inhibitors

10.1.1.1. Tacrine

10.1.1.2. Donepezil

10.1.1.3. Rivostigmine

10.1.1.4. Balatamine

10.1.2. อาการ

10.1.2.1. ขาด Ach สาเหตุความจำเสื่อม

10.1.2.2. S/E ปวดท้อง

10.1.2.3. น้ำหนักลด

10.1.2.4. ไม่เกิดพิษต่อตับ

10.2. Parkinson

10.2.1. Levodopa

10.2.1.1. ช่วยทดแทนโดปามีนที่ขาด

10.2.1.2. อัตราส่วน

10.2.1.2.1. Carbidpa

10.2.1.2.2. Benserzide

10.2.1.3. อาการไม่พึงประสงค์

10.2.1.3.1. เบื่ออาหาร เสียการทรงตัว เคลื่อนไหวได้น้อย เคลื่อนไหวผิดปกติ