ผู้ป่วยโควิดถึงแก่กรรม (ศาสนาอิสลาม) (1)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ผู้ป่วยโควิดถึงแก่กรรม (ศาสนาอิสลาม) (1) by Mind Map: ผู้ป่วยโควิดถึงแก่กรรม (ศาสนาอิสลาม)  (1)

1. ผู้ป่วยระยะวิกฤต

1.1. ให้การพยาบาล

1.1.1. พยาบาลผู้ป่วยระยะวิกฤตต้องดำรวไว้ซึ่งการปฏิบัติการพยาบาลที่มีมาตรฐาน

1.1.2. พยาบาลวิกฤตต้องมีความรู้

1.1.3. ต้องเป็นส่วนหนึ่งของสหวิชาชีพในการประสานงานกับผู้อื่น

1.1.4. การพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยและครอบครัว

1.1.5. ต้องยอมรับค่านิยมความเชื่อของผู้ป่วยและครอบครัว

1.2. กระบวนการพยาบาล

1.2.1. การประเมินภาวะสุขภาพ

1.2.1.1. ประเมินปัญหา ความต้องการ และเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ

1.2.1.2. อาการทั่วไป เช่น การรับรู้สติ ลักษณะการหายใจ สภาพผิวหนัง อาการบวม/ซีด

1.2.2. การวินิจฉัยทางการพยาบาล

1.2.2.1. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่เร่งด่วนและไม่เร่งด่วนอย่างต่อเนื่องจนจำหน่าย

1.2.2.2. กำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ครอบคลุมปัญหาและความต้องการด้านร่างกาย จิตวิญญาณ

1.2.3. การวางแผนการพยาบาล

1.2.3.1. กำหนดแผนการพยาบาลสำหรับผู้ป่วยเป็นรายบุคคลให้ครอบคลุมและสอดคล้องกับลำดับความสำคัญของปัญหา

1.2.3.2. เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีส่วนร่วมในการวางแผนการพยาบาล

1.2.4. การปฏิบัติการพยาบาล

1.2.4.1. เพื่อแก้ไขปัญหาและความต้องการในระยะวิกฤตและต่อเนื่องตามแผน

1.2.4.2. เพื่อส่งเสริมความสุขสบายของผู้ป่วย

1.2.5. การประเมินผลทางการพยาบาล

1.2.5.1. ปฏิกิริยาตอบสนองภายหลังการปฏิบัติการพยาบาลทันทีและต่อเนื่อง

2. ผู้ป่วยถึงแก่กรรม (End of life care)

2.1. ศาสนากิจสุดท้ายของชีวิตสู่อ้อมกอดของพระเจ้า

2.1.1. เมื่อผู้ป่วยถึงแก่กรรม

2.1.1.1. พยาบาลและเจ้าหน้าที่จิตอาสาทำความสะอาดร่างกายและทำตะยัมมุม (การใช้มือทั้งสองข้างตบบนดินฝุ่น และลูบใบหน้าหลังมือทั้งสองข้างของผู้เสียชีวิตเพื่อทดแทนการอาบน้ำละหมาด)

2.1.1.2. พยาบาลและเจ้าหน้าที่จิตอาสาภายใต้ชุดPPE ช่วยกันห่อหุ้มผู้ป่วยโควิดด้วยถุงสีขาวและถุงพลาสติก ตามหลังป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในผู้ป่วยโควิด

2.1.1.3. พยาบาลและเจ้าหน้าที่จิตอาสาปฏิบัติศาสนกิจ คือละหมาด ญานาซะห์ (ละหมาดมายัต) ที่นับถือศาสนาอิสลาม

2.1.1.4. เคลื่อนย้ายศพผู้ป่วยไปยังหลุมฝังศพ (กุโบร์) ให้เร็วที่สุด

2.1.1.5. ญาติผู้ป่วยร่วมพิธีและเข้าใจถึงศาสนกิจที่ถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลามในช่วงโรคระบาดโคโรน่าไวรัส 2019

2.1.2. การให้การพยาบาลตามหลักความเชื่อหลักศรัทธาปฏิบัติตามความเชื่อในทุกมิติ กาย จิตสังคมและจิตวิญญาณของผู้ป่วย ยังคงดำเนินอยู่ภายใต้การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ เพื่อส่งผู้ป่วยไปสู่อ้อมกอดของพระเจ้าในวินาทีสุดท้ายของชีวิต

3. สมรรถนะของพยาบาล

3.1. ด้านจริยธรรมจรรยาบรรณและกฎหมาย ซึ่งเป็นความเชื่อด้านศาสนาเพื่อเป็นการดูแลผู้ป่วยที่เกี่ยวกับ End of life care ตามพิธีกรรมทางศาสนาอย่างถูกต้อง

3.2. ด้านการปฏิบัติทางการพยาบาล พยาบาลเป็นผู้นำปฏิบัติการพยาบาลตามมาตรการป้องกันโควิด ร่วมกับผู้นำศาสนาและครอบครัว 

3.3. ด้านคุณลักษณะทางวิชาชีพ มีการอบรมเจ้าหน้าที่จิตอาสาโดยพยาบาลเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติและป้องกันโควิดเมื่อผู้ป่วยเสียชีวิต

3.4. ด้านภาวะผู้นำ เป็นผู้นำในการนำทีมจิตอาสามาร่วมประกอบพิธี

3.5. ด้านวิชาการและการวิจัย เป็นการอัพเดตแนวทางในการดูแลผู้ป่วยโควิด

3.6. ด้านการสื่อสารและสัมพันธภาพเป็นการสื่อสารร่วม กับทีมจิตอาสา ครอบครัวและทีมบุคลากรทางการแพทย์ให้มีการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันโควิด19 ไปแนวทางเดียวกัน

3.7. ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ เป็นการใช้สื่อและเทคโนโลยีในการส่งต่อ/ประสานงานข้อมูล ใช้เป็นสื่อต้นแบบและแนวทางปฏิบัติในการประกอบพิธีทางศาสนา

3.8. ด้านสังคม เป็นการสร้างเครือข่ายกับทีมจิตอาสาและทีมบุคลากรทางการแพทย์เพื่อให้มีส่วนร่วมในพิธีกรรมทางศาสนา

4. สมรรถนะพยาบาลจบใหม่

4.1. ควรมีสมรรถนะดังกล่าวข้างต้น เน้นด้านพหุวัฒนกรรมในการดูแล

5. สมาชิกกลุ่ม 1.นางสาว จรรยพัสร ธนวงษพัฒน์ เลขที่ 7 2. นางสาว ชมพูนุท แดงงาม เลขที่ 11 3. นางสาว ญาณินท์ เชิงดี​ เลขที่ 12 4. นางสาว นูรฮาฟีซา สิทธามาศ เลขที่ 19 5. นางสาว ภัสสร​มีสิทธิ์​​เลขที่ 24 6. นางอนุศรา ​ปัญญาอินทร์ เลขที่ 43