1. บช.นิติเวช คืออะไร
1.1. แนวคิดเริ่มจากศาลแคนาดา ปี 1817
1.2. สมาคม AICPA นิยามศัพท์นี้ว่า Forensic Accounting คนไทยเรียกว่า บัญชีนิติเวช/บัญชีนิติวิทยา เพื่อใช้วิธีการมาพิสูจน์หลักฐานทางกฏหมาย
1.3. จุดเริ่มต้นมาจากการตรวจสอบภาษีอากรที่เกี่ยวกับข้อกฏหมาย
1.4. 1917 IRSเริ่มใช้ทีมหาหลักฐานการโกงภาษี
1.5. 1946 บทความ Forensicเกิดครั้งแรก
2. นักบัญชีนิติเวช
2.1. เหตุผลให้เกิดหรือไม่ 3 สิ่ง
2.1.1. แรงกดดัน
2.1.2. การให้เหตุผลกับตัวเอง
2.1.3. โอกาส/ช่องทาง
2.2. คุณสมบัติที่ควรมี
2.2.1. เข้าใจระบบบัญชี/ควบคุมภายใน/ประเมินความเสี่ยงได้
2.2.2. วิเคราะห์ข้อมูลเป็นเหตุเป็นผล
2.2.3. เป็นนักวางแผนและลงมือทำ
2.2.4. มีไหวพริบ ช่างสังเกตุ เข้าใจจิตวิทยา
2.2.5. เข้าใจกฏหมายของหน่วยงานที่กำหนดให้ ตามคดีที่ได้รับมอบหมาย
2.2.6. สื่อสารเข้าใจ นำเสนอได้เป็นภาพ 1-2-3-4
2.3. ต้องทำอะไรบ้าง
2.3.1. ทำความเข้าใจ/วิเคราะห์ข้อมูลภาพรวม
2.3.2. วิเคราะห์ความเสี่ยง/จุดอ่อน/กำหนดประเด็นตรวจสอบเชิงลึก
2.3.3. วางแผนแนวทางตรวจ/สัมภาษณ์รวบรวม
2.3.4. สรุปผลและรายงาน/ดำเนินคดี
3. ประเด็นอื่นๆนิติเวช
3.1. วิเคราะห์ข้อมูลกิจการที่ตรวจสอบ
3.1.1. เน้นมองภาพใหญ่-ไล่ไปถึงจุดละเอียดกว่า เช่น สัดส่วนในงบ/อุตสาหกรรม/อัตราส่วน/การเปรียบเทียบ
3.2. ประเมินความเสี่ยง
3.2.1. เสี่ยงด้วยเรื่องอะไรบ้าง เช่น ทุจริตงบหรือไม่ มีงานอะไรบ้างในกิจการ ระบุโอกาสที่จะเกิดเหตุได้ ขนาดความเสี่ยงหาย การประเมินมาตราการควบคุม มีการระบุความเสี่ยงได้ แล้วจัดลำดับความเสี่ยง เช่น สูง กลาง ต่ำ
3.3. เข้าใจระบบบัญชีและควบคุมภายใน
3.3.1. ควรเข้าใจหลักการควบคุมภายในที่ดี / ทำความเข้าใจกระบวนการทำงาน/การป้อน/การประมวลผล/จัดเก็บ/ และใช้เครื่องมือในการนำข้อมูลมาวิเคราะห์/รู้จักการหาเอกสารหลักฐานต่างๆ
4. Big Data & Analysic
4.1. กรมสรรพากร เริ่มใช้ Ai ในการตรวจสอบควบคุม การแอบหลีกเลี่ยงภาษี
4.1.1. วิเคราะห์ธุรกิจประเภทเดียวกัน และเอาข้อมูลมาเปรียบเทียบกัน เผื่อดูค่าที่ผิดปกติและไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริง
4.1.2. Big4 ใช้เจาะลึกปัญหาและความเสี่ยงด้านต่างๆ โดยไม่จำเป็นต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญ