พัฒนาการช่วงชีวิต

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พัฒนาการช่วงชีวิต by Mind Map: พัฒนาการช่วงชีวิต

1. # 1. **Trust vs. Mistrust (ความไว้วางใจ vs. ความไม่ไว้วางใจ)** - **ช่วงอายุ**: ตั้งแต่เกิดถึง 1 ปี - **สำคัญ**: เด็กจะเรียนรู้ที่จะไว้วางใจหรือไม่ไว้วางใจต่อสิ่งแวดล้อมขึ้นอยู่กับการตอบสนองจากผู้ดูแล

2. Introduction

2.1. Development ****not end \ ***ดูเชิงคุณภาพ\ รอบด้านสังคม\overall

2.1.1. Lifelongการเรียนรู้ตลอดชีวิต = การเรียนรู้พัฒนาการ มีการเปลี่ยนแปลงงไปตามอายุขัย

2.1.2. Multidirectional การเรียนรู้ที่หลากหลาย = การเรีนรรู้หลายด้านได้ด้านนี้อาจจะลืมการเรียนรู้อีกด้าน

2.1.2.1. Physical domain : ทางยภาพ นน ส่วนสูง

2.1.2.2. Cognitive domain : เปลี่ยนแปลงงด้านความรู้ เปลี่ยนด้านใน

2.1.2.3. Psychosocial domain : จิตใจอารมณ์ เปลี่ยนแปลงงทางอาราณ์ ความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อน ครอบครัว

2.1.2.4. ………………………………..

2.1.2.5. Multidisciplinary

2.1.2.5.1. Psychologist

2.1.2.5.2. Sociologist นักสังคม

2.1.2.5.3. Anthropologists นักประมาณ

2.1.2.5.4. นักชีวทยา

2.1.2.5.5. Medical researcher นักวิจับ

2.1.2.5.6. Neuroscientist ประสาทวิทยา

2.1.2.6. Multicontextual ปัจจัยที่มีผล

2.1.2.6.1. อายุ

2.1.2.6.2. เรื่องราว เบื่องหลัง

2.1.2.6.3. ชิวิตไม่มีบรรทัดฐาน

2.1.3. อิทธิพลที่มีต่อการ Development

2.1.3.1. ยีนส์ พันธุ์กรรม

2.1.3.2. สภาพแวดล้อม

2.2. + maturityวุฒิภาวะ

2.3. +Growthเติบโต

2.3.1. ขยายอย่างเดียว

2.3.2. จะมีจุดใดจุดหนึ่งหยุดโต

2.3.3. การโตทางกาย เเละ organ

2.3.4. ดูเชิงการเติบโต****

2.4. + leaning

2.5. Type growth and development

2.5.1. Physical : Body น้ำหนัก

2.5.2. Mental / cognitive: พัฒนาการจัดการ การตัดสินใจ รับมือกับสถานะการณ์ต่างๆ

2.5.3. Emotional : ด้านอารมณ์แสดงออกมา

2.5.4. Social : ด้านสังคม ความสัมพันธ์

2.6. Stage of growth and development

2.6.1. Prenatal period เเรกเกิด

2.6.2. Infancy and toddlerhood เเรกเกิด -2ปี

2.6.3. Early เด้กตอนต้น 2-6ปี

2.6.4. Middle 6-12ปี

2.6.5. Adolescence 12-20

2.6.6. Young adulthood 20-40

2.6.7. Middle age 40-65

2.6.8. Late 65up

3. หลักทฤษฎีจิตวิทยา

3.1. หลักทฤษฎีของเเต่ละคน

3.1.1. Erikson

3.1.1.1. แบ่งออกเป็น 8 ช่วง โดยแต่ละช่วงจะมีวิกฤตที่สำคัญซึ่งต้องได้รับการแก้ไข เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพที่แข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดี

3.1.1.1.1. # 2. **Autonomy vs. Shame and Doubt (ความเป็นอิสระ vs. ความอับอายและความสงสัย)** - **ช่วงอายุ**: 1 - 3 ปี - **สำคัญ**: เด็กเรียนรู้ที่จะทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง หากได้รับการสนับสนุนจะรู้สึกมีความมั่นใจ

3.1.1.1.2. # 3. **Initiative vs. Guilt (ความริเริ่ม vs. ความรู้สึกผิด)** - **ช่วงอายุ**: 3 - 6 ปี - **สำคัญ**: เด็กเริ่มมีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ หากถูกขัดขวางอาจรู้สึกผิด

3.1.1.1.3. # 4. **Industry vs. Inferiority (ความขยันหมั่นเพียร vs. ความรู้สึกด้อย)** - **ช่วงอายุ**: 6 - 12 ปี - **สำคัญ**: เด็กพัฒนาทักษะและเรียนรู้ความสามารถ หากรู้สึกไม่เพียงพออาจนำไปสู่ความรู้สึกด้อยค่า

3.1.1.1.4. ## 5. **Identity vs. Role Confusion (อัตลักษณ์ vs. ความสับสนในบทบาท)** - **ช่วงอายุ**: 12 - 18 ปี - **สำคัญ**: วัยรุ่นค้นหาอัตลักษณ์ของตนเอง หากไม่สามารถกำหนดบทบาทได้อาจเกิดความสับสน

3.1.1.1.5. # 6. **Intimacy vs. Isolation (ความใกล้ชิด vs. การแยกตัว)** - **ช่วงอายุ**: 18 - 40 ปี - **สำคัญ**: ผู้ใหญ่ต้องพัฒนาความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้ง หากไม่สามารถเชื่อมโยงกับผู้อื่นอาจเกิดการแยกตัว

3.1.1.1.6. # 7. **Generativity vs. Stagnation (การสร้างสรรค์ vs. ความซบเซา)** - **ช่วงอายุ**: 40 - 65 ปี - **สำคัญ**: ผู้ใหญ่จะต้องสร้างสรรค์ในชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการทำงานหรือการเลี้ยงดูครอบครัว หากรู้สึกไม่สามารถสร้างสรรค์ได้จะรู้สึกซบเซา

3.1.1.1.7. # 8. **Integrity vs. Despair (ความสมบูรณ์ vs. ความสิ้นหวัง)** - **ช่วงอายุ**: 65 ปีขึ้นไป - **สำคัญ**: ผู้สูงอายุจะสะท้อนถึงชีวิตของตน หากรู้สึกพึงพอใจกับชีวิตจะรู้สึกมีความสมบูรณ์ แต่หากรู้สึกเสียดายจะมีความสิ้นหวัง

3.1.1.1.8. ทฤษฎีของ Erikson เน้นความต่อเนื่องของการพัฒนาจิตใจตลอดชีวิตและความสำคัญของการแก้ไขวิกฤตในแต่ละช่วงเพื่อพัฒนาความเป็นบุคคลที่ดีในอนาคต.

3.1.2. Freud

3.1.2.1. 1.ฟรอยเชื่อว่า บุคลิกภาพพัฒนาขึ้นใน ช่วงวัยเด็ก โดยฟรอยด์เชื่อว่าบุคลิกภาพจะพัฒนาไปตามระยะต่างๆ ซึ่งพลังงานที่มุ่งหวังความพึงพอใจของอิด (Id) จะมุ่งไปยังพื้นที่อวัยวะเพศบางส่วน

3.1.2.1.1. 1.prenatal stage

3.1.2.1.2. 2 latency stage

3.1.2.1.3. 3.Genital stage

3.1.3. Piaget theory

3.1.3.1. ทฤษฎีของ Jean Piaget เกี่ยวกับการพัฒนาการเรียนรู้และการคิดของเด็กแบ่งออกเป็น 4 ช่วงหลัก ดังนี้:

3.1.3.1.1. 1. **ช่วงเซนโซรี-มอเตอร์ (Sensorimotor Stage)** (0-2 ปี)การกระตุ้นประสาทสัมผัสทั้ง5 พูดคำสั้นๆได้ แม่ พ่อ

3.1.3.1.2. 2. **ช่วงก่อนปฏิบัติการ (Preoperational Stage)** (2-7 ปี) เริ่มวาดทำสัญญาลักษณมีการหยิบจับมีการสื่อสารรับรู้ถึงปริมาทมีการคาดคเนได้วันนี้ยึกตัวเองเป็นศูนย์กลาง

3.1.3.1.3. 3. **ช่วงปฏิบัติการที่เป็นรูปธรรม (Concrete Operational Stage)** (7-11 ปี) เริ่มมีการคำนวนตัวเลข เริ่มคิดคำนวนได้ + x - หาร เริ่มรับรู้สภาพแวดล้อมมได้รับฟังความคิดการสอนเริ่มมองภาพได้กว้างขึ้น

3.1.3.1.4. 4. **ช่วงปฏิบัติการที่เป็นนามธรรม (Formal Operational Stage)** (11ปีขึ้นไป) คิดสมมติ การคาดเดา ทดสอบ การหาคำตอบตัวตนสาเหตุมีการคิดมากขึ้น ใช้เหตุผล ### ความสำคัญของทฤษฎี Piaget - **เข้าใจพัฒนาการของเด็ก**: ช่วยให้ผู้ปกครองและครูเข้าใจว่าความสามารถในการคิดและเรียนรู้ของเด็กจะพัฒนาขึ้นตามอายุ - **การเรียนรู้แบบเหมาะสม**: ช่วยในการออกแบบการศึกษาที่เหมาะสมกับช่วงพัฒนาการต่างๆ ทำให้การสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น - **การส่งเสริมทักษะ**: เน้นการเรียนรู้ผ่านการทดลองและประสบการณ์ ช่วยให้เด็กพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีระบบ ทฤษฎีของ Piaget เป็นพื้นฐานสำคัญในจิตวิทยาการศึกษาและการพัฒนาของเด็ก ซึ่งยังคงได้รับการศึกษาและประยุกต์ใช้จนถึงปัจจุบัน

3.2. Learning

3.2.1. วัตถุประสงค์

3.2.1.1. Skill

3.2.1.1.1. Hard ทักษะการเรียนนส.

3.2.1.1.2. Soft ทักษะการเข้าสังคม

3.2.1.2. Knowledge การเรียนรู้ทางตรง เเละ อ้อม

3.2.1.2.1. Out come ผลของการรวมข้อมูล

3.2.1.2.2. ความรู้ ข้อเท็จจริงต่างๆ แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการศึกษา

3.2.1.3. Attitude

3.2.1.3.1. ทัศน์คติ

3.2.2. องค์ประกอบของการรู้

3.2.2.1. 1. Motivation แรงขับเคลื่อน

3.2.2.2. 2. Stimulus การกระตุ้น สิ่งร้า

3.2.2.3. 3. Response การตอบสนอง

3.2.2.4. 4. Reinforcement การเสริมแรงผลพลังบวก

3.2.3. ขอบเขตการเรียนรู้

3.2.3.1. Cognitive domain ทักษะทางจิตใจ ความคิด จากหัวไปฐาน

3.2.3.1.1. Creating สร้างสรรค์

3.2.3.1.2. Evaluating ประเมิน

3.2.3.1.3. Analyzing วิเคราะห์

3.2.3.1.4. Applying ประยุทธ์

3.2.3.1.5. Understanding เข้าใจ

3.2.3.1.6. Remember จำ

3.2.3.2. Affectiveด้านความรู้สึกด้านอารทณ์

3.2.3.2.1. Characterization by value set เพื่อที่จะทำให้ค่านิยมมาคุมความพฤติกรรม

3.2.3.2.2. Organizationจัดระดับสำคัญ

3.2.3.2.3. Valuingเพื่อมีส่วนร่วมอย่างกระตืนรื้อร้นของผู้เรียน

3.2.3.2.4. Responding เพื่อรัยรู้อารทณ์ ความสามารถการเลือกให้ความสนใจอย่ามีสติ

3.2.3.3. Psychomotor ทักษะทางด้านมือ หรือ ทางกาย

3.2.3.3.1. Origination มีความคิดให้เหมาะกับสถานะการต่างๆ

3.2.3.3.2. Adaptationการเปลี่ยนแปลงงเฉพาะคน

3.2.3.3.3. Complex overt response มีความซับซ้อนทักษะย่อยๆเเละคุมได้

3.2.3.3.4. Mechanism ความมั่นใจในการทำบางสิ่งบางอย่าง

3.2.3.3.5. Guided เเนะนะ

3.2.3.3.6. Setรีเเอ็ก

3.2.3.3.7. Perception ประสาทสัมผัสทัง้5

3.3. กาาถ่ายทอดและเรียนรู้

3.3.1. Positive transfer เกิดความรู้เบื่องต้นมีประโยชน์ต่อการเรียนรู้ เอามาใช้อย่าางถูกต้องกับหัวข้อปัจจุบัน เรียนรู้ใช้กับที่อื่นดีขึ้น

3.3.2. Negative t ขัดละหว่างประสิทธิภาพอันแรกกกับอันสอง รบกวนเป็นผลลบต่อองค์กรที่อยู่