1. ที่ตั้ง
1.1. จังหวัดนนทบุรี
2. การรักษาคุณภาพมาตรฐาน
2.1. GI
2.1.1. มาตรฐานเฉพาะทางภูมิศาสตร์
2.2. GAP
2.2.1. การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี
2.3. นนทบุรีการันตี
3. การส่งเสริม
3.1. การร่วมกลุ่ม
3.2. การจัดตั้งชมรมระดับอำเภอ-จังหวัด
3.3. กลุ่มส่งเสริมการเกษตร
3.3.1. จัดตั้งศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร
3.4. ชมรมอนุรักษ์และฟื้นฟูทุเรียนนนนท์ จังหวัดนนทบุรี
4. ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
4.1. ดิน
4.1.1. ชั้นแรกมีสารอินทรีย์วัตถุสูง
4.1.2. ชั้นสองมีลักษณะสีดำเข้ม
4.1.3. ชั้นที่สามเป็นสีน้ำตาลและเป็นสนิม
4.2. น้ำ
4.2.1. แท้งค์น้ำสำรอง
4.2.1.1. มินิสปริงเกอร์สองระบบ
4.2.1.1.1. บน
4.2.1.1.2. ล่าง
4.3. ปุ๋ย
4.3.1. ปุ๋ยพืชสด
4.3.1.1. ทองหลางไม้ยืนต้นตระกูลถั่วที่มีความสำคัญกับดิน
4.3.2. ปุ๋ยอินทรีย์
4.3.2.1. ขี้ไส้เดือน
4.3.2.2. ขี้ค้างคาว
4.3.2.3. น้ำหมักชีวภาพ
4.3.3. ปุ๋ยเคมี
4.3.3.1. สูตรเร่งดอก(1-2ครั้ง/ปี)
4.3.3.2. สูตรบำรุงต้น(1-2ครั้ง/ปี)
5. สมาชิกกลุ่ม1
5.1. นายณัฐกิตติ์ ปราบพาล 6790002171
5.1.1. นายกฤษณพงศ์ บุญมี 6690007296
5.1.1.1. นางสาวน้ำทิพย์ มูเซอ 6590000664
5.1.1.1.1. นางวรัฎฐา นิคมชัยประเสริฐ 6690002941
5.2. นางสาวสิริลักษณ์ แพรพันธ์ 6090016012
5.2.1. นายอำนาจ ปัญญาบุตร 6690007163
5.2.1.1. นางสาวสุทธิชา ศรีวะวงค์ 6690008382
5.2.1.1.1. นางสาวสุวนันท์ ช่วยชาติ 6790003336
6. การจัดการผลผลิต
6.1. การห่อผลผลิตป้องกัน
6.1.1. 1.ผ้าขาวบาง ห่อระยะดอก
6.1.1.1. 2.ห่อตาข่าย
6.1.1.1.1. 3.เก็บเกี่ยวผลผลิต(ประมาณ115วัน)
6.2. การใช้สารชีวภัณฑ์
6.2.1. ไตรโครเดอม่า
6.2.2. สารสะเดา
7. Excluded
8. .
9. การบริหารและจัดการภายใน
9.1. การทำเกษตรแบบผสมผสาน
9.1.1. หลัก:ทุเรียน
9.1.2. เสริม:มังคุด ส้มโอ กล้วย มะม่วง มะไฟ ผักสวนครัว ไม้ป่า ทองหลาง
9.2. การปลูกพืชหลายระดับ
9.2.1. ชั้นที่1 รอบสวน: ไม้ให้ร่มเงา เช่น ไผ่ ยางนา สะเดา พะยุง ไม้สัก
9.2.2. ชั้นที่ 2:ปลูกมะม่วง
9.2.3. ชั้นที่ 3 ปลูกมะไฟ
9.2.4. ชั้นที่ 4 ปลูกผักสวนครัว
10. .
11. .
12. การจัดการตลาด
12.1. ออฟไลน์
12.1.1. ตลาดชุมชน
12.1.2. ลูกค้าสามารถมาตัดเองที่สวน
12.2. ออนไลน์
12.2.1. เพจเฟสบุ๊ค