หลักพุทธธรรมกับการดำเนินชีวิต

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หลักพุทธธรรมกับการดำเนินชีวิต by Mind Map: หลักพุทธธรรมกับการดำเนินชีวิต

1. พุทธธรรมกับหลักการแห่งมนุษยสัมพันธ์

1.1. หลักแห่งการคบมิตร

1.1.1. การรู้ทันมิตรเทียม

1.1.2. รู้ถึงมิตรแท้

1.2. หลักการแห่งฐานแบบทิศ6

1.2.1. ทิศ 1 ในฐานะเป็นบุตรธิดา

1.2.2. ทิศ 2 ในฐานะที่เป็นศิษย์

1.2.3. ทิศ 3 ในฐานะที่เป็นสามี

1.2.4. ทิศ 4 ในฐานะที่เป็นมิตรสหาย

1.2.5. ทิศ 5 ในฐานะที่เป็นนายจ้าง

1.2.6. ทิศ 6 ในฐานะที่เป็นพุทธสาสนิกชน

1.3. หลักแห่งสาราณียธรรม

1.3.1. เมตตากายกรรม

1.3.2. เมตตาจีกรรม

1.3.3. เมตตามโนกรรม

1.3.4. สาธารณโภคี

1.3.5. ศีลสามัญญตา

1.3.6. ทิฏฐิสามัญญาตา

1.4. หลักการสังคหวัตถุ

1.4.1. ทาน การให้ปัน

1.4.2. ปิยวาจา การพูดจาอย่างรักกัน

1.4.3. อัตถจิยา ทำประโยชน์แก่เขา

1.4.4. สมานัตตตา เอาตัวเข้าสมาน

1.5. หลักแห่งพรหมวิหาร

1.5.1. เมตตา ความรัก

1.5.2. กรุณา ความสงสารอยากช่วย

1.5.3. มุฑิตา ความเบิกบาน

1.5.4. อุเบกขา มีใจเป็นกลาง

1.6. หลักแห่งคู่สร้างคู่สมรส การครองเรือน

1.6.1. สมชีวิธรรม คู่ครองที่ดี

1.6.1.1. สมสัทธา

1.6.1.2. สมลีลา

1.6.1.3. สมจาคา

1.6.1.4. สมปัญญา

1.6.2. ลักษณะแห่งภริยา

1.6.2.1. วธกาภริยา

1.6.2.2. โจวีภริยา

1.6.2.3. อัยยาภริยา

1.6.2.4. มาตาภริยา

1.6.2.5. ภคินีภริยา

1.6.2.6. อขีภริยา

1.6.2.7. ทาสีภริยา

2. พุทธธรรมกับการเข้าใจโลกและชีวิต

2.1. หลักเบญจขันธ์

2.1.1. รูป

2.1.2. เวทนา

2.1.3. สัญญา

2.1.4. สังขาร

2.1.5. วิญญาณ

2.2. หลักไตรลักษณ์

2.2.1. อนิจจตา ความไม่เที่ยง

2.2.2. ทุกขตา ความเป็นทุกข์

2.2.3. อนัตตา ความไม่ใช่ตัวตน(สังขาร)

2.2.3.1. สัจขตธรรม ธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งขึ้น

2.2.3.2. อสังขตธรรม ธรรมที่ไม่ถูกปรุงแต่ง

2.3. หลักการวิเคราะห์ตามแบบอริยสัจ4

2.3.1. ทุกข์ ความทุกข์

2.3.2. ทุกขสมุทัย เหตุเกิดแห่งทุกข์

2.3.3. ทุกขนิโรธ ความดับทุกข์

2.3.4. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปท(มรรค) ข้อปฏิบัติให้ไปถึงความดับทุกข์

2.4. หลักการเข้าใจโลก

2.4.1. ได้ลาภ

2.4.2. เลื่อมลาภ

2.4.3. ได้ยศ

2.4.4. เลื่อมยศ

2.4.5. สรรเสริญ

2.4.6. สุข

2.4.7. ทุกข์

3. พุทธธรรมกับการวางรากฐานชีวิตให้มั่นคง

3.1. หลักแห่งอริยมรรคมีองค์ 8

3.1.1. หมวดปัญญา ว่าด้วยเรื่องความคิดความเห็น ความเข้าใจเชิงวิเคราะห์

3.1.1.1. สัมมาทิฏฐิ

3.1.1.2. สัมมาสังกัปปะ

3.1.2. หมวดศีล ว่าด้วยความประพฤติทาง กาย วาจา

3.1.2.1. สัมมาวาจา

3.1.2.2. สัมมากัมมันตะ

3.1.2.3. สัมมาอาชีวะ

3.1.3. หมวดสมาธิ ว่าด้วยการอบรมพัฒนาจิต

3.1.3.1. สัมมาวายามะ

3.1.3.2. สัมมาสติ

3.1.3.3. สัมมาสมาธิ

3.2. หลักการแห่งติหิวินัย

3.2.1. เว้นกรรมกิเลส

3.2.2. เว้นอคติ

3.2.3. เว้นอุบาย

3.3. หลักแห่งพลธรรม

3.3.1. ปัญญาพละ

3.3.2. วิริยะพละ

3.3.3. อนวัชชพละ

3.3.4. สังคหพละ

3.4. หลักแห่งจักรธรรม

3.4.1. ปฏิรูปเทสวาสะ

3.4.2. สัปปุริสูปัสสยะ

3.4.3. อัคคสัมมาปณิชิ

3.4.4. ปุพเพกตปุญญตา

3.5. หลักแห่งสัปปุริสธรรม

3.5.1. ธัมมัญญตา

3.5.2. อัตตกัญญตา

3.5.3. อัตตัญญตา

3.5.4. มัคตัญญตา

3.5.5. กาลัญญตา

3.5.6. ปริสัญญตา

3.5.7. ปุคคลัญญตา

3.6. หลักแห่งกุศลกรรมบถ

3.6.1. กายสุจริต

3.6.1.1. ละเว้นการฆ่า

3.6.1.2. ละเว้นการแย่งชิงขโมย.

3.6.1.3. ละเว้นการประพฤติผิด

3.6.2. วจีสุจริต

3.6.2.1. ละเว้นการพูดเท็จ

3.6.2.2. ละเว้นการพูดส่อเสียด

3.6.2.3. ละเว้นการพูดหยาบคาย

3.6.2.4. ละเว้นการพูดเหลวไหลเพ้อเจ้อ

3.6.3. มโนสุจริต

3.6.3.1. การไม่ละโมบ

3.6.3.2. การไม่คิดร้าย

3.6.3.3. มีความเห็นถูกต้อง

3.7. หลักการแห่งทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์

3.7.1. อุฏฐานสัมปทา

3.7.2. อารักขสัมปทา

3.7.3. กัลยาณมิตตา

3.7.4. สมชีวีตา