Group 2 การค้นคว้างานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล สำหรับการบริหารการศึกษา

시작하기. 무료입니다
또는 회원 가입 e메일 주소
Group 2 การค้นคว้างานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล สำหรับการบริหารการศึกษา 저자: Mind Map: Group 2 การค้นคว้างานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล สำหรับการบริหารการศึกษา

1. 1. องค์ประกอบของการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ประกอบด้วยด้านต่าง ๆ 6 ด้าน ได้แก่1) ด้านผู ้บริหารสถานศึกษา 2) ด้านครูผู ้สอน 3) ด้านผู้เรียน 4) ด้านการเรียนรู้ 5) ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมและ 6) ด้านกระบวนการบริหารสถานศึกษา 2.รูปแบบการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลสำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตภาคกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นฐานสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบหลักและ 29 องค์ประกอบย่อย(Chi-square=278.26, df = 269,GFI =0.95, AGFI = 0.92, RMSEA =0.010, RMR=0.032) 3.รูปแบบสถานศึกษาในยุคดิจิทัลสำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตภาคกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื ้นฐาน มีความถูกต้อง มีความเหมาะสม มีประโยชน์ และมีความเป็นไปได้

2. จินตนา ฮับเบิ้ล

2.1. ชื่อเรื่อง (Title) นวัตกรรมการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของโรงเรียนในฝัน

2.2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research Objectives) 1. ศึกษานวัตกรรมการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ของโรงเรียนในฝัน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการสนับสนุนการเรียนการสอนและการบริหารงานของโรงเรียน 2. วิเคราะห์ผลการประเมินนวัตกรรมการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ของโรงเรียนในฝัน เพื่อตรวจสอบความเหมาะสม ประสิทธิภาพ และแนวทางในการพัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการของโรงเรียนและผู้เรียน 3. เสนอแนวทางการพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการ ICT ในโรงเรียนในฝัน เพื่อเป็นแนวทางสำหรับโรงเรียนในการนำไปปรับใช้และพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ICT อย่างยั่งยืน

2.3. ตัวแปร

2.3.1. ตัวแปรต้น (Independent Variables)

2.3.1.1. 1. ตัวแทนของการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) 2. การพัฒนาครู (Teacher Development) 3. การส่งเสริมการใช้ ICT ของนักเรียน (Student Encouragement on ICT Usage) 4. การส่งเสริมการมีส่วนร่วม (Participatory Promotion)

2.4. ตัวแปรตาม (Dependent Variables)

2.4.1. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในโรงเรียนต้นแบบ

2.5. Link บทความ

2.5.1. https://drive.google.com/file/d/1Hlj3mE0XZ5tJ5f1SGNe0mfdEQEMR3D2z/view?usp=drive_link

2.6. ผลการวิจัย

2.7. ข้อเสนอแนะ (Recommendations)

3. ภัทรานี โคตรวงค์

3.1. ชื่อเรื่อง (Title)

3.1.1. การใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1

3.2. Link บทความ

3.2.1. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/appm/article/view/259979

3.3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research Objectives)

3.3.1. 1. เพื่อศึกษาการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาในการบริหารสถานศึกษา 2. เพื่อเปรียบเทียบการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา จำแนกตามอำเภอและขนาดโรงเรียน

3.4. ตัวแปร

3.4.1. ตัวแปรต้น

3.4.1.1. อำเภอและขนาดโรงเรียน

3.4.2. ตัวแปรตาม

3.4.2.1. การใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา จำแนกเป็น 5 ด้าน 1. ด้านหลักสูตร 2. ด้านการจัดการเรียนรู้ 3. ด้านสื่อการสอน 4. ด้านการประเมินผล 5. ด้านการบริหารจัดการ

3.5. ผลการวิจัย Research Findings

3.5.1. 1. ระดับการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาโดยรวม มีค่าเฉลี่ย 4.13 ซึ่งจัดอยู่ในระดับมาก 2. รายด้าน • ด้านที่ใช้มากที่สุด : การบริหารจัดการ (ค่าเฉลี่ย 4.26) แสดงให้เห็นว่าโรงเรียนให้ความสำคัญกับระบบการจัดการที่มีเทคโนโลยีมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ • ด้านที่ใช้รองลงมา : หลักสูตร (4.22), การจัดการเรียนรู้ (4.17), สื่อการสอน (4.10) สะท้อนให้เห็นว่าเทคโนโลยีถูกนำมาใช้ในการเรียนการสอนมากขึ้น • ด้านที่ใช้ น้อยที่สุด : การประเมินผล (3.90) ซึ่งชี้ให้เห็นว่ามีความจำเป็นในการพัฒนาระบบประเมินผลให้ทันสมัยขึ้น

3.6. ข้อเสนอแนะ

3.6.1. 1. ด้านหลักสูตร – โรงเรียนควรพัฒนาหลักสูตรที่ทันสมัยและยืดหยุ่น เปิดโอกาสให้นักเรียนเลือกเรียนตามความสนใจและศักยภาพของตนเอง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 2. ด้านการจัดการเรียนรู้ – ควรส่งเสริมให้ครูใช้การเรียนรู้แบบศูนย์การเรียนโดยให้นักเรียนศึกษาและทำกิจกรรมเป็นกลุ่มย่อย รวมถึงใช้สื่อการเรียนที่ช่วยให้เรียนรู้ได้ด้วยตนเองพร้อมทั้งมีครูคอยให้คำแนะนำ 3. ด้านสื่อการสอน – ควรสนับสนุนให้ครูใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) มากขึ้น เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการศึกษา 4. ด้านการประเมินผล – ควรพัฒนาระบบการประเมินที่ทันสมัย เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ตรวจข้อสอบ เพื่อให้การวัดผลแม่นยำและนำไปพัฒนาการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. ด้านการบริหารจัดการ – ควรพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และใช้งานสะดวก เพื่อให้สามารถจัดเก็บและค้นหาข้อมูลได้ง่าย ส่งผลให้การบริหารโรงเรียนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

4. อมรเทพ อะภัย

4.1. ชื่อเรื่อง (Title) การใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัล ของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์เขต 1

4.2. Link https://so09.tci-thaijo.org/index.php/EAIJ/article/view/5458/3463

4.3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research Objectives) 1. เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัลของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 2. เพื่อเปรียบเทียบการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัลของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 จําแนกตามสถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม

4.4. ตัวแปร

4.4.1. ตัวแปรต้น/ตัวแปรอิสระ

4.4.1.1. สภาพการปฏิบัติการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

4.4.2. ตัวแปรตาม

4.4.2.1. การบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัล ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1

4.5. ผลการวิจัย (Research Findings)

4.6. ข้อเสนอแนะ (Recommendations)

5. ลดาวัลย์ วุฒิซิชญานันต์

5.1. ชื่อเรื่อง: การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตภาคกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

5.2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research Objectives)

5.2.1. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ: 1.ศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล 2.ตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลที่สร้างขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3.ประเมินรูปแบบการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล

5.3. Link บทความ

5.3.1. http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/bitstream/123456789/1876/1/gs601150038.pdf

5.4. ตัวแปร

5.4.1. ตัวแปรต้น (Independent Variable): รูปแบบการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล องค์ประกอบการบริหารสถานศึกษา ได้แก่ ด้านผู้บริหารสถานศึกษา, ครูผู้สอน, ผู้เรียน, การเรียนรู้, เทคโนโลยีและนวัตกรรม, กระบวนการบริหารสถานศึกษา ตัวแปรตาม (Dependent Variable): ประสิทธิภาพของการบริหารสถานศึกษา ความเหมาะสม ความถูกต้อง ความมีประโยชน์ และความเป็นไปได้ของรูปแบบการบริหาร

5.5. ผลการวิจัย (Research Findings)

5.5.1. . ผลการวิจัย พบว่าองค์ประกอบของการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบหลัก และ 29 องค์ประกอบย่อย ได้แก่: ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน ผู้เรียน การเรียนรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม กระบวนการบริหารสถานศึกษา รูปแบบการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลสำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตภาคกลาง มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยค่าดัชนีความสอดคล้องทางสถิติแสดงถึงความเหมาะสมสูง (Relative Chi-square=0.977, CFI=1.00, TLI=1.00, RMSEA=0.000, SRMR=0.024) การประเมินรูปแบบการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล พบว่ารูปแบบที่พัฒนาขึ้น มีความถูกต้อง, ความเหมาะสม, มีประโยชน์ และสามารถนำไปใช้ได้จริง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

5.6. ข้อเสนอแนะ (Recommendations)

5.6.1. ข้อเสนอแนะในการนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ รูปแบบการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลที่ได้จากการวิจัยสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในสถานศึกษาที่อยู่ภายใต้หน่วยงานอื่น เช่น โรงเรียนเอกชน หรือโรงเรียนอาชีวศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาสามารถใช้รูปแบบนี้ในการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับยุคดิจิทัล หน่วยงานการศึกษาในระดับเขตพื้นที่สามารถใช้ผลวิจัยนี้เป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาการบริหารสถานศึกษา 4.2 ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยในอนาคต ควรศึกษารูปแบบการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลสำหรับโรงเรียนระดับอื่น เช่น โรงเรียนประถมศึกษา ควรมีการวิจัยเชิงทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ควรทำการวิจัยเชิงพยากรณ์ โดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ควรทำการวิจัยเชิงอธิบาย (Explanation) โดยใช้การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis) หรือการวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling: SEM) เพื่อทำความเข้าใจความสัมพันธ์ขององค์ประกอบทั้งหมด

6. ประไพ เบญจวรเดช

6.1. ชื่อเรื่อง: การวิเคราะห์ชีวิตการทำงานของครูในยุคดิจิทัล

6.2. Link บทความ

6.3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research Objectives)

6.4. ตัวแปร

6.5. ผลการวิจัย (Research Findings)

6.6. ข้อเสนอแนะ (Recommendations)

7. อรอุมา นพรัตน์

7.1. ชื่อเรื่อง:ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล

7.2. Link บทความ http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/4778/1/630630018.pdf

7.3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research Objectives)1) เพื่อทราบองค์ป1ระกอบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา ยุคดิจิทัล 2) เพื่อทราบผลการยืนยันองค์ประกอบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล

7.4. ตัวแปร : 1. ตัวแปรพื้นฐาน เป็นตัวแปรที่เกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน และประสบการณ์ในการทำงาน 2. ตัวแปรที่ศึกษา เป็นตัวแปรที่เกี่ยวกับองค์ประกอบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา ยุคดิจิทัล ที่ได้จากการศึกษาเอกสาร งานวิจัย และการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ

7.5. ผลการวิจัย (Research Findings) 1. ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษายุคดิจิทัลมี6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การสร้าง วัฒนธรรมองค์กรทางดิจิทัล 2) การสร้างเครือข่าย 3) การยอมรับการเปลี่ยนแปลง 4) การมีทักษะ ทางเทคโนโลยี5) การพัฒนาบุคลากร 6) การมีวิสัยทัศน์ด้านเทคโนโลยีองค์ประกอบสามารถอธิบาย ร่วมกันได้ร้อยละ 66.389 2. ผลการยืนยันภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล พบว่า มีความถูกต้อง เหมาะสม เป็นไปได้และเป็นประโยชน

7.6. ข้อเสนอแนะ (Recommendations) 1. ควรทำการวิจัยถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา ตามบริบทของแต่ละสถานศึกษาที่มีความแตกต่างกัน 2. ควรทำการวิจัยองค์ประกอบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษายุคดิจิทัลแต่ละ องค์ประกอบ ว่ามีปัจจัยใดที่เกี่ยวข้องและส่งผลต่อการพัฒนาสถานศึกษาอย่างไร 3. ควรทำการศึกษาวิจัยรูปแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาที่เหมาะสมกับยุค ดิจิทัล

8. นายชาตรี ไชยรักษ์

8.1. ชื่อเรื่อง (Title): รูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

8.2. Link บทความ

8.2.1. Link บทความ : https://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/bitstream/123456789/5039/3/61032048.pdf

8.3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research Objectives):

8.3.1. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีวัตถุประสงค์เฉพาะ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาองค์ประกอบและแนวทางการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. เพื่อสร้างและตรวจสอบรูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. เพื่อประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

8.4. ตัวแปรที่ศึกษา

8.4.1. ตัวแปรที่ศึกษา ได้แก่ แนวทางการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

8.5. ผลการวิจัย

8.5.1. 2. ผลการตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารใน สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ทรงคุณวุฒิ มีความเห็นว่า มีความเหมาะสม ส่วนผลการประเมินความ เป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน รูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความเห็นว่า มีความ เป็นไปได้อยู่ในระดับมาก และมีความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด

8.5.2. 1. รูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 วัตถุประสงค์ ได้แก่ 1) เพื่อกำหนดแนวทางในการจัดการ นวัตกรรม 2) เพื่อสร้างและพัฒนานวัตกรรม และ 3) เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน องค์ประกอบที่ 2 หลักการ ได้แก่ 1) หลักการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2) หลักการเน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ 3) หลักการจัดการความรู้ และ 4) หลักการบริหารงานวิชาการ องค์ประกอบที่ 3 ปัจจัยนำเข้า

8.6. ข้อเสนอแนะ

8.6.1. 1. ควรวิจัยจัยและพัฒนารูปแบบการจัดการนวัตกรรมในสถานศึกษาในยุคดิจิทัล 2. ควรวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดการนวัตกรรมในสถานศึกษาเอกชน 3. ควรวิจัยและพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัต กรรมของครู

9. ฉวีวรรณ แสนแก้ว

9.1. ชื่อเรื่อง (Title) การศึกษาการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2

9.2. link บทความ

9.3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย

9.3.1. 1. เพื่อศึกษาการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2 2. เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้ของครู ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2

9.4. ตัวแปรที่ศึกษา

9.5. ผลการวิจัย

9.6. ข้อเสนอแนะ

10. เกศินี พิมลา

10.1. ชื่อเรื่อง

10.1.1. รูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

10.2. Link บทความ

10.2.1. chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/https://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/bitstream/123456789/5039/3/61032048.pdf

10.3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย

10.3.1. 1. เพื่อศึกษาองค์ประกอบและแนวทางการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน 2. เพื่อสร้างและตรวจสอบรูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน 3. เพื่อประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการจัดการนวัตกรรม ทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

10.4. ตัวแปร

10.5. ผลการวิจัย

10.6. ข้อเสนอแนะ

11. New node

11.1. https://typeset.io

12. สุทธิพงษ์ อาจโต

12.1. ชื่อเรื่อง (Title) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารกับประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดชัยนาท

12.2. Link บทความ

12.3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research Objectives)

12.4. ตัวแปร

12.4.1. ตัวแปรต้น/ตัวแปรอิสระ

12.4.1.1. ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม (Xtot) 1.การสร้างบรรยากาศในการ สร้างสรรค์นวัตกรรม (X1) 2. การคัดเลือกคนเพื่อสร้างสรรค์ นวัตกรรม (X2) 3. การสร้างทีม (X3) 4. การจัดการทีมนวัตกรรม (X4) 5 . ก า รให้ ร างวั ล ใน ก าร ส ร้า ง นวัตกรรม (X5) 6. การพัฒนาทักษะ (X6) 7. การค้นหาและทำงานร่วมกับ ผู้สนับสนุน (X7)

12.4.2. ตัวแปรตาม

12.4.2.1. ประสิทธิผลของโรงเรียน (Ytot) 1. สภาพแวดล้อมเป็นระเบียบและปลอดภัย (Y1) 2. พันธกิจของโรงเรียนมีความชัดเจน (Y2) 3. ภาวะผู้นำด้านวิชาการ (Y3) 4. ความคาดหวังที่สูง (Y4) 5. ความทุ่มเทเวลาในการทำงาน (Y5) 6. การตรวจสอบความก้าวหน้าของนักเรียน (Y6) 7. ความสัมพันธ์เชิงบวกกับผู้ปกครอง (Y7)

12.5. ผลการวิจัย (Research Findings)

12.6. ข้อเสนอแนะ (Recommendations)

13. วิชัย จัทร์มี

13.1. ชื่อเรื่อง (Title)นวัตกรรมการบริหารและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาการประกันคุณภาพของโรงเรียนปงพัฒนาวิทยาคม

13.1.1. นวัตกรรมการบริหารและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาการประกันคุณภาพของโรงเรียนปงพัฒนาวิทยาคม

13.2. Link บทความ

13.3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research Objectives)

13.4. ตัวแปร

13.4.1. ตัวแปรต้น/ตัวแปรอิสระ

13.4.1.1. 1.ทฤษฎีการบริหารและการจัดการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา 2.ปัจจัยที่สนับสนุนการบริหารและการจัดการของโรงเรียน ปงพัฒนาวิทยาคม 3.การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์เพื่อการประกันคุณภาพตาม 4.การศึกษาการสภาพบริหารและการจัดการเพื่อการประกันคุณภาพของโรงเรียนที่เป็น Best Practice

13.4.2. ตัวแปรตาม

13.4.2.1. นวัตกรรมการบริหารและการจัดศึกษาเพื่อพัฒนาการประกันคุณภาพของโรงเรียนปงพัฒนาวิทยาคม

13.5. ผลการวิจัย (Research Findings)

13.6. ข้อเสนอแนะ (Recommendations)

14. ชื่อ-นามสกุล

14.1. ชื่อเรื่อง (Title)

14.2. Link บทความ

14.3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research Objectives)

14.4. ตัวแปร

14.4.1. ตัวแปรต้น/ตัวแปรอิสระ

14.4.2. ตัวแปรตาม

14.5. ผลการวิจัย (Research Findings)

14.6. ข้อเสนอแนะ (Recommendations)

15. อรุณศรี มิชรา

15.1. ชื่อเรื่อง (Title)แนวทางการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารการศึกษาโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2

15.2. Link บทความ

15.2.1. http://oldweb.mcu.ac.th/userfiles/file/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B9%8C/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%97/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2/2560/MCU60021190.pdf

15.3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research Objectives)

15.3.1. 1. เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารการศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษา 2. เพื่อระบุปัญหาและอุปสรรคในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เพื่อกำหนดแนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนาและปรับปรุงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

15.4. ตัวแปร

15.4.1. ตัวแปรต้น/ตัวแปรอิสระ

15.4.1.1. แนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารการศึกษา การใช้และพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ

15.4.2. ตัวแปรตาม

15.4.2.1. ประสิทธิภาพการบริหารการศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษา

15.5. ผลการวิจัย (Research Findings)

15.6. ข้อเสนอแนะ (Recommendations)

16. กุลพัชร ศรีสุภาพ

16.1. ชื่อเรื่อง:สภาพและปัญหาทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1

16.2. Link บทความhttps://so05.tci-thaijo.org/index.php/sskrujournal/article/view/258479/179319

16.3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research Objectives) 1) เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในการบริหารสถานศึกษา 2) เพื่อเปรียบเทียบสภาพและปัญหาทักษะการใชKเทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารสถานศึกษาจําแนกตามเพศ อายุ ประสบการณ์ทํางานในตําแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา และขนาดสถานศึกษา 3) เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานีเขต 1

16.4. ตัวแปร

16.4.1. ตัวแปรอิสระ สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามประกอบด้วย เพศ อายุ ปรศึกษาะสบการณ์ทํางานในตําแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาและขนาดสถานศึกษาศึกษา และขนาดสถานศึกษา

16.4.2. ตัวแปรตาม สภาพและปัญหาทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารสถานศึกษา

16.5. ผลการวิจัย (Research Findings)

16.6. ข้อเสนอแนะ (Recommendations)

16.6.1. 1. ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ 1.1 ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการส่งเสริมการอบรม และพัฒนาให้ครูมีทักษะในการใช้ . เทคโนโลยีดิจิทัลในการเรียนการสอน โดยจัดการอบรมต่อเนื่องและสามารถนำไปใช้ใช้ได้จริงในสถานศึกษา ดยเฉพาะทักษะการสร้างนวัตกรรมดิจิทัล และทักษะการพัฒนาองค์ 1.2 ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการหมั่นฝึกฝนทักษะการใช้เทคโนโลยีดิดิจิทัลให้มากขึ้น โดย อาจมีการประกวดผู้บริหารสถานศึกษาที่ใช้นวัตกรรมดีเด่น ประจำเขตพื้นที่การศึกษา หรือประจำจังหวัด 1.3 ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ให้เป็นระบบดิจิทัลมากขึ้น โดยเฉพาะระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) เพื่อความสะดวก และความรวดเร็วในการส่งข้อมูล เพื่อ สร้างภาพลักษณ์หน่วยงานราชการให้เป็นหน่วยงานที่ทันสมัยและทำงานรวดเร็ว 2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการศึกษารูปแบบการพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหาร านศึกษา ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ทักษะการสืบค้นข้อมูล ทักษะการใช้เครื่องมือด้านดิจิทัล ทักษ นวัตกรรมดิจิทัล ทักษะการพัฒนาองค์กรดิจิทัล เป็นต้น 2.2 ควรมีการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารสถานศึกษา ของผู้บริหารในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1

17. นายภูวฤทธิ์ ปุริธรรมเม

17.1. ชื่อเรื่อง (Title)

17.1.1. นวัตกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1

17.2. Link บทความ

17.2.1. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/RCIM/article/download/248383/172095/953568

17.3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research Objectives)

17.3.1. 1. ผู้บริหารและครูที่มีเพศต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาของสถานศึกษาในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 แตกต่างกัน 2. ผู้บริหารสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 ที่มีประสบการณ์ทำงานแตกต่างกันจะมีสภาพการใช้นวัตกรรมเพื่อการบริหารงานวิชาการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ0.05

17.4. ตัวแปร

17.4.1. ตัวแปรต้น/ตัวแปรอิสระ

17.4.1.1. เพศ ประสบการณ์ในการทำงานและขนาดของสถานศึกษา

17.4.2. ตัวแปรตาม

17.4.2.1. สภาพการใช้นวัตกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา

17.5. ผลการวิจัย (Research Findings)

17.5.1. 1) ด้านการใช้นวัตกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 พบว่าการใช้นวัตกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก 2) ด้านวิเคราะห์เปรียบเทียบสภาพการใช้นวัตกรรมการบริหารงานวิชาการขอผู้บริหารสถานศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 จำแนกตาม เพศ ประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดของสถานศึกษา ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

17.6. ข้อเสนอแนะ (Recommendations)

17.6.1. 1 ควรศึกษาเรื่อง สภาพปัญหาของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 2. ควรศึกษาเรื่อง การพัฒนานวัตกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1

18. ภูรี สิริเถลิงเกียรติ

18.1. ชื่อเรื่อง (Title)

18.1.1. การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะสมองของผู้เรียนสําหรับสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี

18.2. Link บทความ

18.2.1. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jeir/article/view/283429/186695

18.3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research Objectives)

18.3.1. 1. เพื่อศึกษาองค์ประกอบของนวัตกรรมการบริหารสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะสมองของผู้เรียน สําหรับสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี 2. เพื่อประเมินความเหมาะสมความเป็นไปได้ขององค์ประกอบของนวัตกรรมการบริหารสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะสมองของผู้เรียน สําหรับสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี

18.4. ตัวแปร

18.4.1. ตัวแปรต้น คือ ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก

18.4.2. ตัวแปรตาม คือ การพัฒนาทักษะสมองของผู้เรียน

18.5. ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง

18.5.1. ผู้บริหารสถานศึกษาและข้าราชการครูของสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี โดยการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (stratified random sampling) กําหนดให้ขนาดสถานศึกษาในกลุ่มเป็นหน่วยสุ่ม (sampling units) จำนวน 275 คน

18.6. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

18.6.1. 1. แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับองค์ประกอบของนวัตกรรมการบริหารสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง (EF) ของผู้เรียน 2. แบบสัมภาษณ์เชิงลึก 3. แบบประเมินการนําผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์

18.7. ผลการวิจัย (Research Findings)

18.7.1. 1. องค์ประกอบที่ได้จากการศึกษาของนวัตกรรมการบริหารสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะสมองของผู้เรียน ประกอบด้วย ปัจจัยภายใน จํานวน 5 ด้าน ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะสมอง (EF) ของผู้เรียน จํานวน 9 ด้าน 2. ผลการประเมินนวัตกรรมการบริหารสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง (EF) ของผู้เรียนสําหรับสถานศึกษานําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี โดยภาพรวมความคิดเห็น อยู่ในระดับมาก

18.8. ข้อเสนอแนะ (Recommendations)

18.8.1. 1. การบริหารจัดการงบประมาณทรัพยากร สื่อ อุปกรณ์ ของสถานศึกษา เป็นสิ่งสําคัญ 2. ควรมีการศึกษาการพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะสมองของผู้เรียนสําหรับสถานศึกษานําร่องระดับก่อนประถมศึกษา และระดับประถมศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี

19. อนุสรา รุ่งกำจัด

19.1. ชื่อเรื่อง นวัตกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

19.2. Link บทความhttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/558

19.3. ปัญหาการวิจัย 1. นวัตกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นอย่างไร 2. นวัตกรรมการบริหารงานวิชาการที่เหมาะสมของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีลักษณะเป็นอย่างไร

19.4. วัตถุประสงค์/จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อทราบนวัตกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. เพื่อทราบนวัตกรรมการบริหารงานวิชาการที่เหมาะสมของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

19.5. ประชากร/กลุ่มเป้าหมาย สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จำนวน 2,361 สถานศึกษา และสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จานวน 28,566 สถานศึกษา รวม 30,927 สถานศึกษา

19.6. กลุ่มตัวอย่าง/ระบุวิธีการสุ่ม สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จำนวน 50 สถานศึกษา และสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จำนวน 50 สถานศึกษา รวม 100 สถานศึกษา ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการเลือกแบบ Cluster Sampling และ Matching Cases โดยใชสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นการศึกษามัธยมศึกษาเป็นหลัก

19.7. เครื่องมือวิจัย 1. แบบสอบถามเกี่ยวกับนวัตกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามขอบข่ายงานวิชาการ 17 ขอบข่าย

19.8. การวิเคราะห์ข้อมูล 1. การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยนำข้อมูลมาสรุปเป็นตัวแปรที่ศึกษา 2. การวิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามความคิดเห็น ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่วิทยฐานะ สังกัดของหน่วยงาน ขนาดของสถานศึกษาและประสบการณ์ในการทำงาน โดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) 3. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับนวัตกรรมการบริหารงานวิชาการที่เหมาะสมของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานใช้ค่าสถิติ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ฐานนิยม (Mode ) สถิติ Non-Parametric Statistic Chi-Square และ Kendall Coefficient of Concordance

19.9. ผลการวิจัย 1) นวัตกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีทั้งหมด 50 นวัตกรรม 2) นวัตกรรมการบริหารงานวิชาการที่เหมาะสมของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งหมด 12 นวัตกรรม ตามขอบขายงานวิชาการ ได้แก่ 1) นวัตกรรมการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 2 นวัตกรรมการบริหารแบบมีส่วนรวม 3) นวัตกรรมการบริหารแบบการสอนงาน 4) นวัตกรรมการสอนนักเรียนเป็นรายบุคคล 5) นวัตกรรมการบริหารตามหลักการประกันคุณภาพการศึกษา 6) นวัตกรรมการบริหารแบบผสมผสาน 7) นวัตกรรมการบริหารโดยใช้เทคโนโลยีและการสื่อสาร 8)นวัตกรรมการบริหารโดยใช้ภาคีเครือข่าย 9) นวัตกรรมการบริหารแบบทีมงาน 10) นวัตกรรมการบริหารตามแนว Tip Co 11) นวัตกรรมการบริหารแบบพัฒนาคุณภาพศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ 12) นวัตกรรมการบริหารแบบศูนย์การเรียนรู้คอมพิวเตอร์

19.10. อภิปราย/ข้อเสนอแนะ/สรุป ผลการวิจัยนั้น เป็นเช่นนั้น อาจเป็นเพราะว่า นวัดกรรมที่ใช้ในการบริหารงานที่เหมาะสมของผู้บริหารสถานศึกษาจากการค้นพบทั้งหมด 50 นวัดกรรม นั้นเป็นเพราะ นวัตกรรมหนึ่งนวัตกรรม สามารถใช้บริหารงานวิชาการได้หลายงานในงานวิชาการ เพราะนิยามของนวัตกรรมแต่ละตัวนั้น แบบการกระจายอำนาจให้ทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วม เน้นการทำงานเป็นทีม ในรูปแบบของคณะกรรมการดำเนินงาน มีระบบติดตามตรวจสอบด้วยการนิเทศ และสอนงานพร้อมทั้งใช้เทคโนโลยีในในการติดต่อสื่อสารและปฏิบัติงานควมคู่กันไป ซึ่งไปสอดรับกับกับนโขบายของรัฐบาลเรื่องของการกระจายอำนาจใจการปฏิบัติงานในสถานศึกษา และยังพบอีกว่าสถานศึกษาขนาดเล็ก ก็ยังใช้นวัตกรรมที่หน่วยงานต้นสังกัดกำหนด หรือบางนวัตกรรมประยุกต์ให้เข้ากับการรองรับการประเมินภายนอก เพราะมีตัวชี้วัดกำหนดอยู่ ง่ายต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของจารุวรรณ นาต้น ได้กล่าวไว้ในงานวิจัยว่า นวัตกรรมการบริหารโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กด้านงานวิชาการ 12 งาน พบว่า นวัตกรรมที่ถูกเลือกใช้มากที่สุด คือ นวัดกรรมการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อกำหนดตามนโยบาย และเป็นแนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมคุณภาพโรงเรียนขนาดตามหน่วยงานของต้นสังกัด และสอดคล้องกับงานวิจัยของ วันเพ็ญ แซ่แต้ ที่นำนวัตกรรม ภาคีเครือข่ายมาเป็นนวักตรนวักรรมการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในและนอกสถานศึกษา นวัตกรรมดังกล่าวผู้คิดค้น และดำเนินการลงสู่สถานศึกษา คือ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐานที่มีนโยบาย ให้สถานศึกษามีภาคีเครือข่ายในสถานศึกษา แต่พบว่า ถ้าเป็นสถานศึกษาขนาดใหญ่สามารถดำรงตัวอยู่ใด้เอง ผู้บริหารมีคุณวุฒิ และวัยวุฒิ ก็มี นวัตกรรมการบริหารงานวิชาการเป็นนวัดกรรมที่คิดค้นขึ้นมาใหม่ของตนเอง สอดคล้องกับแนวคิดของเฉลียว ขาจันทร์ ที่คดค้นนวัตกรรมในการบริหารงานวิชการของสถานศึกษาตนเองคือ Tip Co (Teamwork, Integration, Participation, Continuous, Improvement) ได้นำนวัดกรรมดังกล่าวมาบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาในรูปขององค์คณะบุคคล โดยบูรณาการน โยบายต้นสังกัด รวมไปถึงภารกิจ กิจกรรม ทรัพยากร บุคลากรและเทคโนโลยีนำมาหลอมรวมเป็นนโยบายและยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานของสถามศึกษา จะเห็นว่านวัตกรรมดังกล่าวก็ยังมี นโยบายจากต้นสังกัดเข้ามาเกี่ยวข้อง จะเห็นใด้ว่า มวัตกรรมที่ไม่สามารถเกิดขึ้นใหม่ๆ เลย อาจเป็นเพราะติดนโยบายหรือกฎเดิมที่มีอยู่ ส่วนนวัตกรรมที่เกิดขึ้นใหม่ แต่ไม่หลากหลาย อาเป็นเพราะเพียงนำมาประยุกต์ใหม่บ้างเล็กน้อย และชังขาดความเข้าใจในการใช้นวัตกรรม หรือคิดค้น ประดิษฐ์ นวัตกรรม ร่วมถึงคุณวุฒิ วัยวุฒิ ยังไม่สามามาถดำเนินการได้ ผู้วิจัยจึงได้เสนอแนะแนวคิดในการวิจัยดังนี้

19.11. ข้อเสนอแนะการวิจัย จากการวิจัยเรื่อง นวัตกรรมหารบริหารงานวิชาการของผู้ปริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ข้อค้นพบที่เป็นประโยชน์ ที่เป็นองค์ความรู้ ด้านการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และได้นวัตกรรมการบริหารงานวิชาการที่เหมาะสมตามคุณลักษณะของสถานศึกษา ซึ่งผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี้ 1. หน่วยงานต้นสังกัดที่มีส่วนเกี่ยวข้องและรับผิดชอบ ควรน้ำข้อมูลที่ใด้รีบจากการวิจัยครั้งนี้ไปศึกษารายละเอียดนวัตกรรมที่ถูกเลือกตามขอบข่ายงานวิชาการ และตามคุณลักษณะของสถานศึกษา พิจารณาตัดสินใจเลือกใช้นวัดกรรมการในการบริหารงานวิชาการให้เหมาะกับงาน ซึ่งจะทำให้สถานศึกษาได้รับการปรับปรุงและพัฒนาได้จริง 2. ผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการพัฒนา และอกระดับคุณภาพผู้บริหาร คุณภาพภาพการศึกษาควรนำข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ คือ นวัดกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานไปประยุกต์ใช้ในการบริหารงานตามขอบข่ายการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษี่เหมาะสมกับสภาพบริบท ของแต่ละสถานศึกษา และคำนึงถึงนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด พร้อมทั้งการสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้ปฏิบัติงานทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งมีการติดตามประเมินผลในการนำไปใช้เป็นระยะๆ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาให้ได้ตามมาตรฐานที่กำหนด

20. วันวิสาข์ ศรีผดุง

20.1. ชื่อเรื่อง

20.1.1. การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ศาสตร์พระราชาผ่านกิจกรรมนันทนาการ ของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่

20.2. LINK บทความ

20.2.1. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/5169/1/630630054.pdf

20.3. วัตถุประสงค์การวิจัย

20.3.1. 1. เพื่อศึกษาสภาพการเรียนรู้ศาสตร์พระราชาผ่านกิจกรรมนันทนาการของนักเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ 2. เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ศาสตร์พระราชาผ่านกิจกรรมนันทนาการของนักเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ 3. เพื่อทดลองใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ศาสตร์พระราชาผ่านกิจกรรมนันทนาการของนักเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ 4. เพื่อประเมินปรับปรุงนวัตกรรมการเรียนรู้ศาสตร์พระราชาผ่านกิจกรรมนันทนาการ ของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่

20.4. ตัวแปร

20.5. ผลการวิจัย

20.6. ข้อเสนอแนะ

21. ดรุฑ ศรีปริยัติ

21.1. ชื่อเรื่อง (Title):

21.1.1. สมรรถนะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร

21.2. Link บทความ

21.2.1. file:///C:/Users/Teacher/Downloads/document%20(1).pdf

21.3. วัตถุประสงค์การวิจัย

21.3.1. 1. เพื่อศึกษาสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร 2. เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร จำแนกตามขนาดสถานศึกษา 3. เพื่อนำเสนอข้อเสนอแนะในการพัฒนาสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร

21.4. ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง

21.4.1. 1.1 ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ศรีสะเกษ ยโสธร (จังหวัดศรีสะเกษ) จำนวน 56 โรงเรียน ประกอบไปด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษาขนาด เล็ก จำนวน 4 คน ผู้อำนวยการสถานศึกษาขนาดกลาง จำนวน 38 คน ผู้อำนวยการสถานศึกษาขนาดใหญ่ จำนวน 6 คน ผู้อำนวยการสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษจำนวน 8 คน รวมทั้งหมดจำนวน 56 คน และ ครูผู้สอนในโรงเรียนจังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 2,271 คน รวมทั้งสิ้น 2,327 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร (จังหวัดศรีสะเกษ) และครูผู้สอน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie and Morgan (1970) ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 330 คน แบ่งเป็น ผู้บริหารสถานศึกษาจำนวน 8 คน ครูผู้สอนจำนวน 322 คน

21.5. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

21.5.1. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามวิธี ของ Likert และมีข้อคำถามปลายเปิดเกี่ยวกับข้อเสนอการพัฒนาสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับ ผู้บริหารสถานศึกษา ซึ่งแบบสอบถาม ได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง 0.67-1.00 มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ ระหว่าง .33-.87 และความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ .97

21.6. การวิเคราะห์ข้อมูล

21.6.1. มัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร (จังหวัดศรีสะเกษ) วิเคราะห์ด้วยการหาค่าเฉลี่ย ( 𝑥̅) และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 4.2 เปรียบเทียบสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา วิเคราะห์หา ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) 4.3 ข้อเสนอแนะการพัฒนาสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา ของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานศรีสะเกษ ยโสธร จากการใช้แบบสอบถามปลายเปิด วิเคราะห์ด้วยการ วิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) และการหาความถี่

21.7. ผลการวิจัย

21.7.1. สรุปผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ดังนี้ 1. สมรรถนะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร (จังหวัดศรีสะเกษ) จำแนกเป็นโดยรวมและรายด้านพบว่า สมรรถนะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร (จังหวัดศรีสะเกษ) โดยรวมอยู่ในระดับมาก (𝑥̅= 4.32, S.D. = .85) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ คือ ด้านการการสนับสนุนความเสมอภาค และการเป็นพลเมืองโดยใช้เทคโนโลยี ( 𝑥̅ = 4.44, S.D. = .76) ด้านการ เรียนรู้ร่วมกันเพื่อความเป็นมืออาชีพ (𝑥̅ = 4.41, S.D. = .78) ด้านการเป็นผู้นำที่เสริมสร้างศักยภาพทาง เทคโนโลยี (𝑥̅= 4.33, S.D. = .88) ด้านการวางแผนกำหนดวิสัยทัศน์เชิงเทคโนโลยี (𝑥̅= 4.22, S.D. = .89) และด้านการออกแบบเชิงระบบด้านเทคโนโลยี (𝑥̅= 4.20, S.D. = .91) ตามลำดับ เมื่อพิจารณาส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยภาพรวม เท่ากับ 0.85 มีการกระจายของข้อมูลน้อย แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามมี ความคิดเห็นสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน 2.เปรียบเทียบสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร จำแนกตามขนาดของสถานศึกษาพบว่า ผลการเปรียบเทียบสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร จำแนกตามขนาดสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะการพัฒนาสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร สรุปแนวทางประเด็นที่สำคัญ ดังนี้ 1) ด้านการ สนับสนุนความเสมอภาค และการเป็นพลเมืองโดยใช้เทคโนโลยี ควรควรสนับสนุนครู บุคลากร และ นักเรียนให้เข้าถึงเทคโนโลยี เครื่องมือดิจิทัลอย่างทั่วถึง ควรใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัยถูกกฎหมาย 2) ด้านการวางแผนกำหนดวิสัยทัศน์เชิงเทคโนโลยี ควรให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้ มีส่วนร่วมในการวางแผน กลยุทธ์เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีของโรงเรียน เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร 3) ด้านการเป็นผู้นำที่ เสริมสร้างศักยภาพทางเทคโนโลยี ควรสร้างบรรยากาศ และสภาพแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ร่วมกันระหว่าง ผู้บริหาร และครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้บริหารมีการนำนวัตกรรมมาใช้ในการทำงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ให้มากยิ่งขึ้น 4) ด้านการออกแบบเชิงระบบโดยใช้เทคโนโลยี ควรมีการกำหนดทิศทางการวางแผนการ ทำงานร่วมกันโดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และซอฟต์แวร์ให้มีความเพียงพอ และตรวจสอบวางแผนการใช้ทรัพยากรด้านต่างๆอย่างเป็นระบบ และ 5) ด้านการ เรียนรู้ร่วมกันเพื่อความเป็นมืออาชีพ ควรส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ร่วมกันใน องค์กร (PLC) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และทำกิจกรรมร่วมกัน โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับภาคีเครือข่าย

21.8. อภิปรายผล

21.8.1. อภิปรายผลการวิจัย อภิปรายผลการวิจัย ในประเด็นดังต่อไปนี้ 1. สมรรถนะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ใน ระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การสนับสนุนความเสมอภาค และการเป็นพลเมืองโดยใช้ เทคโนโลยี คือ ผู้บริหารใช้เทคโนโลยีเพื่อความเท่าเทียม โดยส่งเสริม สนับสนุนนักเรียนทุกคนสามารถเข้าถึง เทคโนโลยี และการเชื่อมต่ออย่างเท่าเทียม เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ที่แท้จริง และน่าสนใจ ทั้งนี้ อาจ เนื่องมาจาก สภาพบริบททางสังคมโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว จนส่งผลกระทบต่อการ การจัดการศึกษาในยุคดิจิทัล ทำให้ผู้บริหารสถานศึกษาต้องปรับตัว และเปลี่ยนแปลง มีความรู้ความเข้าใจใน การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ โดยเป็นผู้นำในการส่งเสริมครู และบุคลากรให้สามารถ นำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ผู้เรียนสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีอย่างทั่วถึง มีการกำหนด วิสัยทัศน์ด้านการใช้เทคโนโลยีของสถานศึกษา มีการจัดหาอุปกรณ์เทคโนโลยีที่เพียงพอทั่วถึง ส่งเสริมให้ครู และบุคลากรใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทั้งด้านการจัดการเรียนการสอน รวมถึงด้านการปฏิบัติงานสนับสนุนการ เรียนการสอน ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ สตรีรัตน์ ตั้งมีลาภ (2554) ที่ได้วิจัยเรื่อง การศึกษาสมรรถนะ ของผู้บริหารสถานศึกษาด้านการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชรเขต 1 ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาด้านการบริหาร จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของ พรทิพย์ ไชยพนาพันธ์ และ ชัชภูมิ สีชมภู (2564) ได้วิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขยายโอกาส สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคดิจิทัลของ ผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2. การเปรียบเทียบสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร จำแนกตามขนาดสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านพบว่า ไม่ แตกต่างกัน ทั้งนี้เป็นเพราะว่า การจัดการศึกษาในยุคดิจิทัลมีความท้าทาย อันเนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้า ทางเทคโนโลยี และการสื่อสารที่รวดเร็ว ซึ่งหน่วยงานต้นสังกัดได้เล็งเห็นความสำคัญในการยกระดับคุณภาพ การศึกษา จึงได้กำหนดกลยุทธ์ และนโยบาย โดยให้สถานศึกษา ครู และผู้บริหาร นำนวัตกรรมเทคโนโลยีมาใช้ ในการจัดการศึกษายุคดิจิทัล เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เปลี่ยนแปลง ส่งผลต่อการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาทุกขนาดที่ต้องปรับให้เท่าทัน มีการเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเท่าเทียมทั่วถึง ซึ่งสอดคล้องกับ เทิดศักดิ์ วิไลเกษม และคณะ (2566) ที่ได้วิจัยเรื่อง สมรรถนะดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน มัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ผลการวิจัยพบว่า ผลการ เปรียบเทียบสมรรถนะดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา โดยภาพรวม และราย ด้าน ไม่แตกต่างกัน และยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ณัฏฐณิชา พรปทุมชัยกิจ และคณะ (2564) ที่ได้วิจัย เรื่อง ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ