
1. คำจำกัดความของรัฐแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
1.1. กลุ่มตามแบบแผนความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและผู้ได้ปกครอง
1.1.1. มองว่ารัฐคือการผูกขาดการใช้กำลังโดยผู้ปกครอง
1.1.1.1. นิยามคำจัดกัดความที่มีการอ้างอิงอย่างกว้างขวางในกลุ่มนี้
1.1.1.1.1. นิยามของแมกซ์ เวเบอร์
1.1.1.1.2. นิยามของชาร์ลส์ ทิลลี
1.2. กลุ่มที่สอง มุ่งพิจารณาปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและสมาชิกภายในรัฐเชิงเศรษฐกิจ
1.2.1. ความคิดของนักคิดในกลุ่มมาร์กซิสต์
1.2.1.1. รัฐคือการครอบงำทางชนชั้นอย่างถาวร เพียงเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของชนชั้นปกครองเท่านั้น
1.2.2. แนวคิดการตัดสินใจเลือกอย่างมีเหตุผล
1.2.2.1. ชนชั้นปกครองไม่สามารถเอาเปรียบชนชั้นอื่นได้ เพราะรัฐเป็นผลผลิตของการต่อรองระหว่างผู้ปกครองและประชาชน จนได้เกิดประโยชน์ร่วมกัน
1.3. กลุ่มสุดท้าย ไม่เน้นให้ความสำคัญกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับประชาชนในเชิงมิติวัตถุ
1.3.1. จุดเน้น
1.3.1.1. มิติเชิงความคิดและวัฒนธรรม
1.3.1.2. ความสำนึกในรัฐชาติ
1.3.1.3. สะท้อนว่าความภัภดีของประชาชนนั้นจะเกิดขึ้นได้โดยความเชื่อมากกว่าการบังคับ
1.3.1.4. ความเข้มแข็งของรัฐในเชิงวัตถุ
1.3.1.4.1. การเกณฑ์ทหาร
2. ความเป็นชาติ
2.1. การจำแนกข้อเสนอเกี่ยวกับคำจำกัดของคำว่าชาติ
2.1.1. 3กลุ่ม
2.1.1.1. กลุ่มแรก
2.1.1.1.1. อ้างอิงตามทฤษฏีในกลุ่ม PRIMORDIALISM / ESSENTIAISM
2.1.1.2. กลุ่มที่สอง
2.1.1.2.1. อ้างอิงตามทฤษฏีกลุ่ม Constructive
2.1.1.3. กลุ่มที่สาม
2.1.1.3.1. ว่าด้วยความเป็นชาติ ชาติ อัตลักษณ์ สัญลักษณ์แห่งชาติ จึงเน้นความมีสำนึกในชาติ