สารสนเทศทางการพยาบาล

Plan your projects and define important tasks and actions

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สารสนเทศทางการพยาบาล by Mind Map: สารสนเทศทางการพยาบาล

1. สารสนเทศทางการพยาบาลและการค้นหา

1.1. ทรัพยาการสารสนเทศ

1.1.1. สิ่งตีพิมพ์

1.1.1.1. หนังสือ

1.1.1.2. สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง : รายวัน รายสัปดาห์

1.1.1.3. จุลสาร ความหนาไม่มาก 5-48 หน้า

1.2. สารสนเทศอ้างอิง

1.2.1. หมายถึง

1.2.1.1. ทรัพยาการสารสนเทศที่เราหันไปหาเพื่อค้นคว้า

1.2.2. การใช้ทรัพยาการสารสนเทศอ้างอิง

1.2.2.1. อนุญาตให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น

1.2.3. ประเภทให้สารสนเทศ

1.2.3.1. Dictionary

1.2.3.2. Encyclopedia

1.2.3.3. Directory

1.2.3.4. Biographical Dictionary

1.2.3.5. Geographical Sources

1.2.3.6. Year Books

1.2.3.7. Hand Books

1.2.4. ประเภทแนะแหล่งสารสนเทศ

1.2.4.1. บรรณานุกรม

1.2.4.2. ดรรชนีและสาระสังเขป

2. ระบบสารสนเทศในห้องสมุดและวิธีการสืบค้น

2.1. ห้องสมุด Library

2.1.1. แหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท ทั้งวัสดุตีพิมพ์และวัสดุไม่ตีพิมพ์

2.1.2. องค์ประกอบของห้องสมุด

2.1.2.1. อาคาสถานที่

2.1.2.2. ทรัพยากรสารสนเทศ

2.1.2.3. บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่

2.1.2.4. งบประมาณ

2.1.3. ประเภทของห้องสมุด

2.1.3.1. ห้องสมุดโรงเรียน

2.1.3.2. ห้องสมุดเฉพาะ

2.1.3.3. ห้องสมุดประชาชน

2.1.3.4. ห้องสมุดมหาวิทยาลัย

2.1.3.5. หอสมุดแห่งชาติ

2.2. ทรัพยากรสารสนเทศ

2.2.1. วัสดุตีพิมพ์

2.2.1.1. หนังสือพิมพ์

2.2.1.2. วารสาร

2.2.2. วัสดุไม่ตีพิมพ์

2.2.2.1. ลูกโลก หุ่นจำลอง

2.2.3. ฐานข้อมูลอิเล็กโทรนิกส์

2.3. การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด

2.3.1. ระบบทศนิยม ดิวอี้ D.C.

2.3.2. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน L.C.

2.3.3. ระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน NLM

2.3.4. การจัดเรียงหนังสือ

2.3.4.1. การเรียงจากเลขหมู่น้อยไปหาเลขหมู่มาก จากซ้ายมือไปทางขวามือ

3. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารสนเทศ

3.1. ความหมาย

3.1.1. ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง

3.1.2. ความคิดเห็น หรือประสบการณ์ต่างๆ ที่มีการบันทึก เช่นตัวหนังสือ ตัวเลข เสียง สัญลักษณ์

3.2. ความสำคัญของสารสนเทศ

3.2.1. ความสำคัญต่อบุคคล การเลือกใช้สารสนเทศที่มีคุณค่าจะทำให้การเรียนการสอน

3.2.2. ความสำคัญต่อเศรษฐกิจ การทำธุรกิจใดๆผู้ลงทุนต้องแสวงหาสารสนเทศเกี่ยวกับ วัตถุดิบ แรงงาน เงินทุน

3.2.3. ความสำคัญต่อการปกครอง

3.2.4. ความสำคัญต่อองค์กร

3.2.5. ความสำคัญต่อการศึกษา

3.2.6. ความสำคัญต่อสังคม

3.3. ประเภทของสารสนเทศ

3.3.1. ปฐมภูมิ

3.3.1.1. ได้จากแหล่งกำเนิดโดยตรง

3.3.2. ทุติยภูมิ

3.3.2.1. การนำเอกสารมารวบรวมเรียบเรียงใหม่

3.3.3. ตติยภูมิ

3.3.3.1. การค้นหาสารสนเทศในระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ

4. การสืบค้นสารสนเทศเพื่อการวิจัย

4.1. ฐานข้อมูล

4.1.1. ความหมาย มวลสารสนเทศที่มีเนื้อหาเกี่ยวเนื่อง สัมพันธ์กันเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบในสื่อที่ค้นหา

4.1.2. ประเภทฐานข้อมูล

4.1.2.1. Full Text

4.1.2.2. Bibliographic Database

4.1.2.3. Data Bank

4.1.3. รูปแบบของฐานข้อมูล

4.1.3.1. CR - ROM

4.1.3.2. Online Database

4.2. ฐานข้อมูลที่ควรรู้จัก

4.2.1. www.google.com

4.2.2. www.Journallink.or.th

4.2.3. http://www.riclib.nrct.go.th