การเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม และการเรียนรู้ทางสังคม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม และการเรียนรู้ทางสังคม by Mind Map: การเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม และการเรียนรู้ทางสังคม

1. Gestalt

1.1. กฎการรับรู้ส่วนรวมและส่วนย่อย (The Law of Pragnanz)

1.1.1. ภาพและพื้น(Figure-Ground)

1.1.2. สิ่งที่เรารับรู้ (ภาพ-Figure) ซึ่งเป็นส่วนที่มีลักษณะโดดเด่น

1.1.3. ส่วนที่ไม่ได้รับความสนใจ จะกลายเป็นพื้น (Ground)

1.1.4. ถ้าสิ่งที่เราเห็นมีลักษณะกำกวม ยากจะแยกว่าส่วนใดโดดเด่นกว่ากัน เราจะรับรู้ภาพและพื้นสลับกันไป

1.2. กฎแห่งความคล้าย (Principle of Similarity)

1.2.1. สิ่งเร้าใดๆที่มีลักษณะ รูปร่าง ขนาด หรือสีคล้ายๆกัน มักจะถูกมองว่าเป็นพวกเดียวกัน

1.3. กฎแห่งความต่อเนื่อง (Principle of Continuity)

1.3.1. บุคคลมีแนวโน้มที่จะรับรู้สิ่งต่างๆในลักษณะที่มีความต่อเนื่อง หรือมีทิศทางไปในทางเดียวกัน

1.4. กฎแห่งการปิด (Principle of Closure)

1.4.1. แม้ว่าสถานการณ์หรือปัญหายังไม่สมบูรณ์ บุคคลก็จะเกิดการเรียนรู้ได้จากประสบการณ์เดิมต่อสถานการณ์นั้น

1.5. กฎแห่งความง่าย (Principle of Simplicity)

1.5.1. บุคคลมักจะรับรู้ภาพต่างๆในลักษณะที่เป็นรูปทรงง่ายๆ หรือ อยู่ในรูปทรงที่ชัดเจน มากกว่าจะรับรู้ในรูปทรงที่ซับซ้อน หรือไม่ชัดเจน

2. แนวคิดประมวลสารสนเทศ (Information Processing Theory)

2.1. ความจำระยะสั้น (Short-Term Memory: STM)

2.1.1. หรือ ความจำระดับปฏิบัติการ (Working Memory: WM)

2.2. ความจาระยะยาว (Long-Term Memory: LTM)

2.2.1. ความจำเหตุการณ์ (Episodic Memory)

2.2.2. ความจำความหมาย (Semantic Memory)

2.2.3. ความจากระบวนการ (Procedural Memory)

2.3. Metacognition เป็นการตระหนักรู้

2.3.1. Declarative Knowledge – “รู้ว่าสิ่งนั้น คืออะไร”

2.3.2. Procedural Knowledge – “รู้ว่าสิ่งนั้นทำงานอย่างไร”

2.3.3. Conditional Knowledge – “รู้ว่าทาไม”

3. 52010520006 ทศพล ฆ้องคำ สาขาเทคโนโยยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

4. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเรียนรู้ (Introduction to Learning)

4.1. องค์ประกอบการเรียนรู้

4.1.1. 1. ผู้เรียน (Learner)

4.1.2. 2. สิ่งที่เรียน หรือบทเรียน (Stimulus)

4.1.3. 3. กระบวนการเรียน (Learning Process)

4.2. การจำและการลืม

4.2.1. การตามรบกวน (Proactive Inhibition)

4.2.2. การย้อนรบกวน (Retroactive Inhibition)

5. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)

5.1. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning)

5.1.1. Ivan Pavlov

5.1.1.1. ทดลองกับสุนัข

5.1.2. John B. Watson

5.1.2.1. เชื่อว่า มนุษย์เกิดมาพร้อมปฏิกิริยาทางอารมณ์โดยไม่ต้องเรียนรู้อยู่ 3 อย่าง

5.1.3. ความแตกต่างระหว่างทฤษฎีของ Pavlov กับ Watson

5.1.3.1. Pavlov การเรียนรู้ด้วยการวางเงื่อนไข โดยการเอาสิ่งเร้าหนึ่ง (กระดิ่ง) ไปแทนที่สิ่งเร้าอีกอันหนึ่ง (อาหาร)

5.1.3.2. Watson การเรียนรู้เป็นการวางเงื่อนไขอาการตอบสนอง (ความกลัว) ที่ติดตัวมากับสิ่งเร้าใดๆ (หนูขาว)

5.2. ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connection theory)

5.2.1. Edward L. Thorndike

5.2.1.1. “การลองผิดลองถูก (Trials and Errors)”

5.2.1.1.1. กฏแห่งความพร้อม (Law of Readiness)

5.2.1.1.2. กฏแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise)

5.2.1.1.3. กฏแห่งผล หรือความพึงพอใจ (Law of Effect)

5.2.1.1.4. กฏแห่งผล หรือความพึงพอใจ

5.3. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขการกระทำ (Operant Conditioning Theory)

5.3.1. B.F.Skinner

5.3.1.1. การเสริมแรง

5.3.1.1.1. เงื่อนไข พฤติกรรม ผลกรรม

6. พฤติกรรมการเรียนรู้แบบอื่นๆ

6.1. พฤติกรรมการเรียนรู้แบบแฮบบิชูเอชัน ( Habituation )

6.2. พฤติกรรมการเรียนรู้แบบฝังใจ (Imprinting )

6.3. พฤติกรรมการเรียนรู้แบบใช้เหตุผล ( Reasoning ) หรือ Insight

6.4. (Observational Learning) หรือการเลียนแบบจากตัวแบบ (Modeling)