1. การพัฒนาและปรับปรุงพันธุ์สัตว์
1.1. การขยายพันธุ์โคนมที่ให้น้ำนมสูง
2. การผลิตปุ๋ยชีวภาพ
2.1. ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก
2.2. การทำปุ๋ยจากวัสดุเหลือทิ้ง เช่น เศษผัก อาหาร ฟางข้าว มูลสัตว์
3. หนังดังกับเทคโนโลยี
3.1. Spider-man
3.2. The Hulk
3.3. Jurassic world
4. เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการเกษตร
4.1. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
4.1.1. เช่น การขยายและปรับปรุงพันธุ์กล้วย กล้วยไม้ ไผ่ ไม้ดอกไม้ประดับ
4.2. การปรับปรุงพันธ์พืช
4.2.1. การปรับปรุงพันธุ์มะเขือเทศ พริก มะละกอให้ต้านทานศัตรูพืช
5. เทคโนโลยีการแพทย์เพื่อสุขภาพ
5.1. การทำผลิตภัณฑ์ยารักษาโรค
5.2. การบำรุงสุขภาพ เช่น สมุนไพร
5.3. การพัฒนาวิธีการตรวจหาสารต่อต้านมาลาเรีย วัณโรค จากพืชและจุลินทรีย์
6. ผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพ
6.1. ข้อดีของ GMOs
6.1.1. ประโยชน์ทางด้านการเกษตร
6.1.2. ประโยชน์ต่อผู้บริโภค
6.1.3. ประโยชน์ด้านการพาณิชย์
6.1.4. ประโยชน์ต่อด้านการอุตสาหกรรม
6.1.5. ประโยชน์ต่อด้านการแพทย์
6.2. ข้อเสียของ GMOs
6.2.1. ปัญหาด้านความเสี่ยงต่อสิ่งแวดล้อม
6.2.2. ปัญหาเรื่อง อาจเกิดสารภูมิแพ้ (allergen)
6.2.3. ปัญหาเรื่อง ความปลอดภัยต่่อผู้บริโภคในสัตว์
7. GMOs
7.1. มะเขือเทศ GMOs
7.2. มะละกอ GMOs
7.3. ถั่วเหลือง GMOs
7.4. สตรอเบอรี่ GMOs
7.5. แอปเปิล GMOs
7.6. พริกหวาน GMOs
7.7. มันฝรั่ง GMOs
7.8. อ้อย GMOs
8. เทคโนโลยีชีวภาพกับชีวิตประจำวัน
8.1. การผลิตวัคซีน
8.2. การผสมเทียมกับภาวะมีบุตรยาก
8.2.1. 1.การฉีดเชื้อหรือการผสมเทียม (Intra Uterine Insemination หรือ IUI)
8.2.2. 2.การทำกิฟท์ (Gemete Intra Follopian Transfer หรือ GIF)
8.2.3. 3.การทำซิฟท์ (Zygote Intra Follopain Trasfer หรือ ZIFT)
8.2.4. 4.การทำเด็กหลอดแก้ว (InYitro Fertilization and Embryo Transfer หรือ IVF & ET)
8.2.5. 5.การทำอิ๊คซี่ (Intra Cytoplasmic Sperm Injection หรือ ICSI)
8.2.6. 6.บลาสโตซิสท์ คัทเจอร์ (Blastocyst Culture)
9. เทคโนโลยีชีวภาพกับโรคเบาหวาน
9.1. การผลิตอินซูลิน (Insulin)
10. เทคโนโลยีชีวภาพกับสมุนไพรหรือสมุนไพรไทย
10.1. การใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพวิจัยออกมาว่า สารสกัดจากต้นมะหาดสามารถยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ไทโรซิเนส (Tyrosinase) ได้
10.1.1. เมื่อการทำงานของTyrosinase ถูกยับยั้ง ทำให้การสร้างเม็ดสีผิวของผิวหนังลดน้อยลง จึงทำให้ผิวขาวขึ้น