1. S1-พัฒนาระบบบริการที่มีคุณภาพระดับ M2 เฉพาะ 4 สาขาหลัก และจัดระบบบริการสุขภาพตาม Service Plan
1.1. G1.1. เกิดผลลัพธ์ที่ดีในการดูแลรักษา ป้องกันโรคและสภาวะสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน
1.1.1. HOS.01-อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
1.1.1.1. 1.1.1.พัฒนาเครือข่ายระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
1.1.1.1.1. -ส่งเสริมเครือข่ายให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน อย่างต่อเนื่องครอบคลุมทุกพื้นที่
1.1.1.1.2. -เพิ่มทักษะการประเมินสภาวะ Stoke AMI ให้อาสาสมัครกู้ชีพและ รพ.สต.
1.1.2. HOS.02-อัตรารายโรคหลอดเลือดสมอง
1.1.3. HOS.03-อัตราการวินิจฉัยผิดพลาดล่าช้า ACS
1.1.3.1. 1.1.2.สื่อสารอาการเตือนและสัญญานเตือน เพื่อให้เข้ารับการรักษาอย่างทันท่วงที
1.1.4. HOS.04-ร้อยละของผู้ที ได้รับการประเมินCVD Risk และมีความเสียงสูงมาก ได้รับการปรับเปลียนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นและ/หรือได้รับยาในการรักษาเพือลด ความเสียง
1.1.4.1. 1.1.3.พัฒนาระบบคัดกรองและป้องกันกลุ่มเสี่ยงให้ครอบคลุมปีละ 1 ครั้ง ใช้ ASCVD ในการประเมิน ปรับปรุงวิธีการเก็บข้อมูล
1.1.4.1.1. -จัดหายาลดไขมันที่มีประสิทธิภาพ
1.1.4.1.2. -ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
1.1.5. HOS.05-อัตราการ Admit ด้วยหืดกำเริบต่อแสนประชากร
1.1.5.1. 1.1.4 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยครอบครัวชุมชน และเครือข่ายในการดูแลปัจจัยที่มีผลต่อการป่วยและการกำเริบ
1.1.5.1.1. -เพิ่มศักยภาพ รพ.สต.ในการประเมินรักษา อาการกำเริบที่ไม่รุนแรง การดูแลต่อเนื่องที่ บ้านในรายsevere COPD
1.1.5.1.2. -การคืนข้อมูลให้แก่ชุมชน
1.1.5.1.3. -การฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในคลินิกและหอผู้ป่วย
1.1.5.1.4. -พัฒนาคลินิกเลิกบุหรี่
1.1.6. HOS.06-อัตราการ admit ด้วย COPD กำเริบต่อแสนประชากร 15 ปีขึ้นไป
1.1.7. HOS.07-จำนวนผู้รับบริการตรวจวินิจฉัย ความผิดปกติของทารกก่อนคลอด
1.1.7.1. 1.1.5.พัฒนาเป็นศูนย์การตรวจวินิจฉัย ความผิดปกติของทารกก่อนคลอด
1.1.8. HOS.08-CMI ผู้ป่วยสาขาศัลยกรรม และสูตินรีเวชสูงขึ้น
1.1.8.1. 1.1.6.พัฒนาศักยภาพของทีมผ่าตัดทางศัลยกรรม และสูตินรีเวช
1.1.9. HOS.09-อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย (LBW)
1.1.9.1. 1.1.7.พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่กลุ่มเสี่ยง ที่อาจคลอดบุตรน้ำหนักน้อยและเสี่ยงคลอดก่อนกำหนด
1.1.10. HOS.10-ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดการดูแลพัฒนาการเด็ก
1.1.10.1. 1.1.8.พัฒนาระบบบริการพัฒนาการเด็กในเครือข่าย ระบบการส่งต่อ ศักยภาพบุคลากรเครือข่าย รพ.สต. โรงเรียน
1.2. G1.2 มีระบบบริการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
1.2.1. HOS.11.อัตราหน่วยงานบริการพยาบาล ผ่านการประเมินคุณภาพภายในระดับ 4 ร้อยละ 50
1.2.1.1. 1.2.1.พัฒนาหน่วยงานบริการพยาบาลตาม ส่วนขาดของมาตรฐาน QA
1.2.1.2. 1.2.2.พัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายใน
1.2.2. HOS.12-จำนวนระบบงานสำคัญทางคลินิกได้รับการรับรองมาตรฐาน (กายภาพบำบัด,ชันสูตร,รังสี,ทันตกรรม,แพทย์แผนไทย
1.2.2.1. 1.2.3.พัฒนาระบบมาตรฐานงานกายภาพบำบัด เพื่อให้ได้รับรองมาตรฐานจากสภาวิชาชีพ
1.2.2.2. 1.2.4. พัฒนาระบบมาตรฐานโรงพยาบาล การแพทย์แผนไทย
1.2.2.3. 1.2.5 ธำรงรักษาระบบมาตรฐานงานเทคนิค การแพทย์ (LA)
1.2.2.4. 1.2.6 พัฒนาระบบมาตรฐานแนวทางปฏิบัติเพื่อ ความปลอดภัยทางทันตกรรม
1.2.2.5. 1.2.7 พัฒนาระบบมาตรฐานงานรังสี
1.3. G1.3 มีการจัดบริการที่สอดคล้องตาม Service Plan
1.3.1. HOS.13-อัตรากลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองอัลตราซาวด์
1.3.1.1. 1.3.1.พัฒนาระบบคัดกรองมะเร็งตับและท่อน้ำดี
1.3.1.1.1. - จัดทำฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยง
1.3.1.1.2. - โครงการคัดกรองอัลตราซาวดน์ กลุ่มเสี่ยงนอกเวลาราชการ
1.3.2. HOS.14-คะแนนประเมินคุณภาพศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
1.3.2.1. 1.3.2. พัฒนาระบบ Long term care ระบบฐานข้อมูล เครื่องมือ
1.3.2.1.1. - การสร้าง Care Managerโดยกำหนด ให้มีตัวแทนจากทุก รพ.สต.
1.3.2.1.2. - อบรม Care giver(นักบริบาล) โดยรับสมัครจากคนในชุมชน ที่มีจิตอาสา ตำบลนาหอ โคกงาม และตำบลด่านซ้าย ตำบลละ 2 คน
1.3.3. HOS.15-ร้อยละผู้ป่วยเตียง 3 มี health care giver เพิ่มขึ้น
1.3.4. HOS.16-คะแนนประเมินคลินิกสูงอายุคุณภาพ (สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร เพื่อผู้สูงอายุ กรมการแพทย์)
1.3.4.1. 1.3.3. พัฒนาระบบบริการคลินิกผู้สูงอายุ
1.3.4.1.1. - การสร้างทีมสหวิชาชีพ case manager
1.3.4.1.2. - จัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงสูง หรือมีปัญหาทางจิตและพฤติกรรมเดือนละ1ครั้ง
1.3.5. HOS.17-อัตราผู้ป่วยต้อกระจกได้รับการผ่าตัดตามเกณฑ์
1.3.5.1. 1.3.4. พัฒนาระบบคัดกรองต้อกระจกต้อหินและ เพิ่มการเข้าถึงการผ่าตัดต้อกระจก
1.3.6. HOS.18-อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี
1.3.6.1. 1.3.5.ส่งเสริมการเข้าถึงบริการให้คำปรึกษาและ แก้ไขปัญหาสุขภาพทางเพศของวัยรุ่นผ่านทาง
1.3.6.1.1. -โทรสายด่วน OSCC
1.3.6.1.2. -จัดตู้จำหน่ายถุงยางอนามัยแบบ หยอดเหรียญตามสถานที่จุดเสี่ยง
1.3.7. HOS.19-ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น อายุ 15-19 ปี
1.3.7.1. 1.3.5.กลุ่มเครือข่ายเพื่อนใจวัยทีน
2. S2-การจัดบริการที่เคารพคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สอดคล้องตามความเชื่อ ความศรัทธา และจิตวิญญาน ประยุกต์ใช้ความรู้ในการจัดบริการสุขภาพให้เหมาะกับวิถีชีวิตชุมชน
2.1. G2.1.การปรับปรุงกระบวนทำงาน เพิ่มคุณค่าในการดูแลผู้ป่วย
2.1.1. HOS.20-อัตราหน่วยงานที่มีการจัดบริการที่ สะท้อนถึงการเคารพคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
2.1.1.1. 2.1.1.ทบทวนกระบวนการเพื่อหา โอกาสพัฒนาการจัดบริการ
2.1.1.2. 2.1.2การรับฟังเสียงสะท้อนของผู้รับบริการ โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ
2.1.1.3. 2.1.3.พัฒนาระบบการเยียวยาผู้รับผลกระทบ จากระบบบริการ
2.1.1.3.1. -ระเบียบปฏิบัติ
2.1.1.3.2. -สร้างทีม
2.1.1.3.3. -ถอดบทเรียน
2.2. G2.2.มีสิ่งแวดล้อมทางกายภาพขององค์กร ที่เอื้อต่อความปลอดภัยและความผาสุก ของผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ และผู้มาเยือน
2.2.1. HOS.21-ผ่านมาตรฐานเกณฑ์การดำเนินงาน Healthy workplace ระดับดี
2.2.1.1. 2.2.1.ปรับปรุงสถานที่พักคอยของผู้ป่วยและญาติ
2.2.1.1.1. - สถานที่รับประทานอาหาร
2.2.1.1.2. - สถานที่พักคอยรถหน้าโรงพยาบาล
2.2.1.1.3. - เส้นทางจักรยานเพื่อเข้า-ออก โรงพยาบาลที่ปลอดภัย
2.2.1.1.4. - ศาลาไหว้พระ
2.2.1.1.5. - ปรับปรุงห้องน้ำสำหรับผู้รับบริการ
2.2.1.2. 2.2.2.การใช้งานศิลปกรรมเพื่อช่วยในการเยียวยา
2.2.1.3. 2.2.3.ศูนย์ออกกำลังกายสำหรับเจ้าหน้าที่
2.2.1.3.1. ฟิตเนส
2.2.1.3.2. ห้องเล่นปิงปอง
2.2.1.3.3. สนามเทนนิส
2.2.1.3.4. สนามฟุตซอล
2.2.1.3.5. สระว่ายน้ำ
2.2.1.4. 2.2.4.ระดมทุน/หาผู้มีจิตศรัทธาบริจาค
2.2.2. HOS.22-ผ่านมาตรฐานวิศวกรรมการแพทย์ระดับ 5
2.2.2.1. 2.2.5.พัฒนาระบบการบำรุงรักษาเครื่องมือ
2.2.2.1.1. ประสานงานศูนย์วศิวกรรมการแพทย์เขต 8 ดำเนินการสอบเทียบนอกเวลาราชการ
2.2.2.1.2. - จัดหาเครื่องมือในการสอบเทียบเครื่องมือพื้นฐาน
3. S3.การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุน การจัดบริการสุขภาพและการบริหารจัดการที่ดี
3.1. G3.1 มีการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยี สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ
3.1.1. HOS.23-ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ
3.1.1.1. 3.1.1.การพัฒนาเป็นโรงพยาบาลแห่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ(Electronic Hospital)
3.1.1.1.1. -การจัดหา Hardware ที่ได้มาตรฐาน และเพียงพอต่อการใช้งาน
3.1.1.1.2. -พัฒนาระบบข้อมูลการรักษาพยาบาลโดย เชื่อมโยงประวัติ Patient EMRของ ผู้ป่วย สถานบริการ ในเขต อ.ด่านซ้าย DSEMR
3.1.1.1.3. -พัฒนาระบบการบันทึกและการเก็บรักษาข้อมูลใน HOSxP ให้ถูกต้อง ครบถ้วนและปลอดภัย
3.1.1.1.4. - พัฒนาโปรแกรม E-office สำหรับการบริหารจัดการ (คลังยา / การเงิน / พัสดุ / ครุภัณฑ์ / ซ่อมบำรุง)
3.1.1.1.5. -พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการ บริหาร การประกันคุณภาพให้มีประสิทธิภาพ
3.1.1.2. 3.2.1.พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้สามารถ ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.1.2.1. โครงการ ICT Skill Standard
3.1.2. HOS.24-อุบัติการระบบเครือข่ายล่ม >30นาที
3.1.2.1. 3.3.3.พัฒนาระบบเครือข่ายให้ได้มาตรฐาน และครอบคลุมในการให้บริการ
3.1.2.1.1. ปรับปรุงห้อง Server อาคารอุบัติเหตุฉุกเฉิน
3.1.2.1.2. ขยายห้องแม่ข่ายหลัก (ห้อง Server)
3.2. G3.2 พัฒนาระบบคลังข้อมูลสุขภาพ (Data Center ระดับอำเภอ)
3.2.1. HOS.25-ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ระบบคลังข้อมูลสุขภาพระดับอำเภอ
3.2.1.1. 3.2.1.หน่วยงานใช้ประโยชน์จากคลังข้อมูล สุขภาพระดับจังหวัด (HDC)
3.2.1.2. 3.2.1.จัดกิจกรรม IM Round เพื่อสำรวจ ความต้องการสารสนเทศพื้นฐานของหน่วยงาน
4. S4.การบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ
4.1. G4.1 พัฒนาช่องทาง และระบบการสื่อสาร ทั้งภายในและภายนอกองค์กรที่มีประสิทธิภาพ
4.1.1. HOS.26-ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบ การสื่อสารทั้งภายในและภายนอกองค์กร
4.1.1.1. 4.1.1.มีหน่วยงานรับผิดชอบดูแลงานประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารสำหรับบุคลากรภายในและบุคลากร ภายนอกองค์กร
4.1.1.1.1. HED-งานสุขศึกษาประชาสัมพันธ์และโสตทัศนูปกรณ์
4.1.1.2. 4.2.2.จัดการฐานข้อมูลช่องทางการการสื่อสารให้ครอบคลุม บุคลากรในทุกระดับโดยเฉพาะระดับทึมนำขององค์กร
4.1.1.3. 4.1.3.กำหนดนโยบายช่องทางการสื่อสารในองค์กร และชุมชน
4.1.1.3.1. -ข่าวสารการปฏิบัติงาน ผลของการบริการ กิจกรรมต่างๆ
4.1.1.3.2. -ข่าวสารเกี่ยวกับกฏระเบียบข้อบังคับต่างๆ
4.1.1.3.3. -ข่าวสารมนุษย์สัมพันธ์ สรางขวัญกำลังใจในการทำงาน
4.1.1.3.4. -ข่าวสารนวัตกรรม
4.1.1.4. 4.1.4.พัฒนาช่องทางการสื่อสารให้ครอบคลุมบุคลากรในทุกระดับ
4.1.1.5. 4.1.5.สร้างวัฒนธรรมการสื่อสารให้บุคลากรในองค์กร
4.1.1.6. 4.1.6.การใช้ช่องทางสื่อสาธารณะและสื่อออนไลน์
4.1.1.7. 4.1.7.จัดทำฐานข้อมูลภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ฐานข้อมูลเสียง
4.1.1.8. 4.1.8.มีศูนย์ข้อมูลข่าวสารหลักขององค์กรที่ใช้ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ติดตามและสืบค้น
4.1.1.9. 4.1.9.การกำหนดภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์
4.1.1.9.1. - มีบริการและสัมพันธ์อันดีกับผู้รับบริการ
4.1.1.9.2. - มีระบบบริหารและฝ่ายจัดการที่สูงด้วยประสิทธิภาพ
4.1.1.9.3. - ทำคุณประโยชน์ทางเศรษฐกิจให้แก่ส่วนรวม
4.1.1.9.4. -ปฏิบัติงานภายในกรอบกฎหมายของบ้านเมือง
4.1.1.9.5. -มีความรับผิดชอบต่อสังคมในระดับสูง
4.2. G4.2มีการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บค่ารักษาพยาบาลและ การจัดเก็บรายได้ ระบบบัญชีรายงานการเงินการคลังครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน
4.2.1. HOS.27-ระดับความสำเร็จหน่วยงานมีการจัดทำ แผนรายงาน-รายจ่าย และมีการดำเนินงานตามแผน
4.2.1.1. 4.2.1.พัฒนาบุคลากรระดับหัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ในการจัดทำแผนงาน โครงการ การวางแผนงบประมาณต่างๆเป็นประจำทุกปี
4.2.1.2. 4.2.2.กำหนดเป้าหมาย กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการ (Action Plan) อย่างเป็นระบบและเทคนิคการควบคุม-ประเมินแผนงานหลักการกำหนดเป้าหมาย
4.2.1.3. 4.2.3.พัฒนาระบบบริหารงบประมาณ การเงิน พัสดุและบัญชี ให้อยู่ในรูปแบบของอิเล็กทรอนิกส์ (Real time) เพื่อให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ในการตัดสินใจในเรื่องต่างๆได้ทันที
4.2.1.4. 4.2.4.การประชาสัมพันธ์เชิงรุกสื่อสารให้บุคลากร และประชาชนผู้รับบริการเข้าใจ
4.2.1.5. 4.2.5.ฝึกอบรมบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องการบริหารจัดการงบประมาณ
4.2.1.6. 4.2.6.การจัดการกระบวนการจัดเก็บค่ารักษาพยาบาล แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน
4.2.1.7. 4.2.7.ทบทวนความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน
4.2.1.8. 4.2.8.ตรวจสอบกระบวนการปฏิบัติงานตามนโยบายที่สำคัญ 9 กระบวนงาน
4.2.1.8.1. 1.การจัดทำแผนจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา
4.2.1.8.2. 2. การจัดทำแผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน
4.2.1.8.3. 3. แผนการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์
4.2.1.8.4. 4. การจัดทำแผนจัดซื้อวัสดุทันตกรรม
4.2.1.8.5. 5.การจัดทำแผนการจัดหางบลงทุน
4.2.1.8.6. 6.การควบคุม เก็บรักษาคลัง
4.2.1.8.7. 7.การจัดเก็บเงินรายได้ค่ารักษา พยาบาลสิทธิข้าราชการ จ่ายตรง
4.2.1.8.8. 8.การจัดเก็บเงินรายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิ UC
4.2.1.8.9. 9.การจัดทำแผนประมาณการรายได้ และควบคุมค่าใช้จ่าย
4.2.1.9. 4.2.9.ส่งเสริม,ฝึกอบรมบุคลากร/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้มีความรู้ด้าน ระเบียบพัสดุทุกปี
4.2.1.10. 4.2.10.พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการด้านงบประมาณ การเงิน การคลังและการพัสด
4.2.1.11. 4.2.11.การจัดทำคู่มือ ขั้นตอน วิธีการปฏิบัติงาน และการสร้างความเข้าใจร่วมกัน
4.2.1.12. 4.2.12.กำหนดสมรรถนะ ความรู้ ความสามารถและ ทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานของ จนท.พัสดุประจำ หน่วยงาน
4.2.1.13. 4.2.13.การติดตามตรวจสอบภายในและประเมินผล การใช้จ่ายงบประมาณอย่างเป็นระบบ
4.2.1.14. 4.2.14.จัดทำแผนให้มีการรับการตรวจสอบจากหน่วยงาน ภายนอก ประจําปี(สสจ.)
4.2.1.15. 4.2.15.จัดทำสรุปผลวิเคราะห์และรายงานผลทางการเงินทุกเดือน
5. S6.ส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ ประชาชน ชุมชน และภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ
5.1. G6.1.มีการเคลื่อนไหวเชิงสร้างสรรค์ทางสังคม ในประเด็นที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
5.1.1. HOS.36-ระดับความสำเร็จการ พัฒนากระบวนการจัดการขยะในชุมชน
5.1.1.1. 6.1.1.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการจัดการขยะ
5.1.1.2. 6.1.2.พัฒนาการสื่อสารสาธารณะเกี่ยวกับขยะ
5.1.1.3. 6.1.3.พัฒนาโรงพยาบาลให้เป็นองค์กรต้นแบบ ด้านการจัดการขยะ
5.1.1.4. 6.1.4.กำหนดให้เป็นนโยบายด้านการจัดการขยะในระดับ DHS
5.1.2. HOS.37-ระดับความสำเร็จส่งเสริมการใช้ ผลิตภัณฑ์ปลอดสารพิษ
5.1.2.1. 6.1.5.โครงการ Green Market ภายในโรงพยาบาล
5.1.2.2. 6.1.6.ส่่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์ปลอดสารพิษ ในการประกอบอาหารในโรงพยาบาล
5.1.3. HOS.38-อัตราบุคลากรไร้พุงเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี
5.1.3.1. 6.1.7.พัฒนาโรงพยาบาลให้เป็นองค์กรไ่ร้พุงต้นแบบ
5.2. G6.2 มีการส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ
5.2.1. HOS.39-ระดับความสำเร็จของการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก
5.2.1.1. 6.2.1.โครงการวิจัยเพื่อการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอด่านซ้าย
5.2.1.2. 6.2.2.เพิ่มศักยภาพและขยายเครือข่ายเพาะกล้าตาโขนน้อย ในด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อม ศิลปะ ดนตรี
5.2.2. HOS.40-จำนวน รพ.สต.ผ่านการรับรองคุณภาพ PCA และ รพ.สต.ติดตาว
5.2.2.1. 6.2.3.จัดตั้งทีมในการประเมินคุณภาพ PCA และ 5 ดาว
6. S5.การจัดการด้านทรัพยากรบุคคล เพื่อให้สามารถปฎิบัติงาน ได้สำเร็จตามพันธกิจขององค์กร พร้อมทั้งดำเนินการธำรง รักษาและพัฒนาให้บุคลากรขององค์กรมีคุณภาพชีวิตที่ดี
6.1. G5.1.มีโครงสร้างองค์กรที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน พันธกิจองค์กร
6.1.1. HOS.28-อัตราทีมประสานและหน่วยงานมีทบทวน กำหนดบทบาทความรับผิดชอบ ปีละ 1 ครั้ง
6.1.1.1. 5.1.1.มีทีมที่ปรึกษาในการให้คำแนะนำและช่วยหน่วยงาน ที่ยังไม่มีการจัด/ทบทวนบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ
6.1.1.2. 5.1.2.จัดประชุมสัมมนาเพื่อเก็บข้อมูลทบทวนโครงสร้างองค์กร เพื่อให้สะท้อนถึงกลยุทธ์และภารกิจขององค์กร
6.1.1.3. 5.1.3.จัดทำหลักเกณฑ์ในการเพิ่ม/ลดตำแหน่งงานในโครงสร้างองค์กร
6.1.1.4. 5.1.4.กำหนดเป็นประเด็นในการเยี่ยมสำรวจคุณภาพหน่วยงาน
6.1.2. HOS.29-อัตราหน่วยงานมีภาระงานที่เหมาะสม(<120%)
6.1.2.1. 5.1.5.มีการประเมินภาระงานโดยใช้สูตรขององค์กรวิชาชีพ
6.1.2.2. 5.1.6.พัฒนาทักษะหัวหน้างานกลุ่มงานสนับสนุนให้สามารถ วิเคราะห์ FTE ได้
6.1.2.3. 5.1.7.วิเคราะห์ ปรับปรุงระบบ กระบวนการ ทำงานในหน่วยงานที่มี FTE เกิน120
6.1.3. HOS.30-อัตราบุคลากรในหน่วยงานมีคุณลักษณะ สอดคล้องตามตำแหน่ง
6.1.3.1. 5.1.8.พัฒนาการกำหนด JS ของหน่วยงานให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์พันธกิจขององค์กร
6.1.3.2. 5.1.9.กำหนด JS ของทีม HRD, IM,ENV, KM และหัวหน้างาน
6.1.3.3. 5.1.10.พัฒนาทักษะกรรมการทีมประสานหัวหน้า หน่วยงานให้มีความรู้ ความสามารถตรงตาม JS
6.2. G5.2.มีระบบการสรรหาและคัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถเข้ามาทำงานในองค์กร (HR)
6.2.1. HOS.31-อัตราบุคลากรใหม่ผ่านการประเมิน หลังทดลองปฏิบัติงานเกิน 6 เดือน
6.2.1.1. 5.2.1.จัดทำ/ทบทวนระเบียบปฏิบัติการสรรหาคัดเลือกบุคลากร
6.2.1.1.1. - ใช้ Competency เป็นเกณฑ์ ในการเลือกคนเก่งและคนดี
6.2.1.2. 5.2.2.สรรหาบุคลากรเพื่อรับผิดชอบงานHR
6.2.1.3. 5.2.3.จัดทำระบบสารสนเทศของ HR
6.2.1.4. 5.2.4.ปรับกลยุทธ์และจุดยืนองค์กรทั้งแง่ภาพลักษณ์ และการส่งสารออกไปสู่ภายนอก
6.2.1.4.1. - สร้างกระบวนการสรรหาใหม่ๆ เพื่อ ค้นหาคนที่ต้องการด้วยการใช้เครื่องมือ การจัดการหลากหลาย
6.3. G5.3.บุคลากรมีความเชี่ยวชาญ มีความผูกพัน และมีคุณสมบัติสอดคล้องกับค่านิยมขององค์กร
6.3.1. HOS.32-อัตราบุคลากรมีสมรรถนะหลักผ่านเกณฑ์ร้อยละ80
6.3.1.1. 5.3.1.กำหนดสมรรถนะหลักของ รพร.ด่านซ้าย
6.3.1.2. 5.3.2.พัฒนาหลักเกณฑ์การประเมินสมรรถนะ และการนำไปใช้ประโยชน์
6.3.1.2.1. -กำกับติดตาม การดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
6.3.1.2.2. - นำผลการประเมินที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาจัด ทำแผนพัฒนารายบุคล
6.3.2. HOS.33-อัตราบุคลากรมีสมรรถนะในงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
6.3.2.1. 5.3.3.กำหนดทีมผู้รับผิดชอบในการจัดการเรื่องสมรรถนะในงาน
6.3.2.2. 5.3.4.ทบทวนสมรรถนะในงานทุกงานให้ตอบสนอง ต่อวิสัยทัศน์ของ รพ.
6.3.2.3. 5.3.5.กำกับติดตามให้ทุกหน่วยงานดำเนินการ ตามข้อกำหนดที่สำคัญตามที่ตกลงกัน
6.3.2.4. 5.3.6.นำผลการประเมินที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาจัดทำแผนพัฒนารายบุคล
6.3.3. HOS.34-อัตราบุคลากรมีลักษณะสอดคล้องกับค่านิยมองค์กร
6.3.3.1. 5.3.7.นำค่านิยมร่วมขององค์กรมากำหนดตัวอย่างของพฤติกรรมให้ชัดเจน ให้ทุกคนเข้าใจได้โดยกำหนดเป็นสิ่งที่ควรทำ (Do)และ สิ่งที่ไม่ควรทำ (Don't)
6.3.3.2. 5.3.8.สรรหาบุคลากรที่มีมีทัศนคติดีและมีพฤติกรรมสอดคล้องกับค่านิยมองค์กรเป็นทีม Change Agent ในการผลักดันค่านิยมในองค์กร โดยกำหนดบทบาท หน้าที่ให้ชัดเจนและจัดอบรมให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างค่านิยมองค์กร
6.3.3.3. 5.3.9.จัดให้มีกิจกรรมเปิดตัว " ค่านิยมองค์กร " โดยเน้นสร้างการรับรู้และจดจำได้ง่ายเป็นกิจกรรมที่สนุก แต่สอดแทรกค่านิยม แต่ละตัวเข้าไปในกิจกรรมนั้นๆ
6.3.3.4. 5.3.10.ทีม Change Agent ช่วยกันคิดกิจกรรม ที่จะกระตุ้นการรับรู้และความเข้าใจในค่านิยมองค์กร โดยวางแผนจัดทำอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยเดือนละครั้ง
6.3.3.5. 5.3.11.จัดอบรม สัมมนา ให้ความรู้ เรื่องเกี่ยวกับค่านิยมองค์กร โดยวิทยากรทั้งภายในและภายนอก ให้กับผู้บริหาร หัวหน้างานและ พนักงานทุกระดับ เป็นประจำ
6.3.3.6. 5.3.12.นำค่านิยมองค์กร เข้าไปในกระบวนการ บริหารจัดการคนในทุกๆ ขั้นตอน เช่น ในขั้นตอนการสรรหาขั้นตอนการปฐมนิเทศกำหนดให้มีหัวข้อการพูดถึง ค่านิยมองค์กร
6.3.3.7. 5.3.13.จัดทำการสำรวจการรับรู้และ ความเข้าใจ ในเรื่องค่านิยมองค์กร จากพนักงานทุกๆ คน และ ทำการสำรวจเป็นระยะๆ อย่างน้อย 6 เดือนครั้ง
6.3.3.8. 5.3.14.ผู้บริหาร, หัวหน้างาน, ทีม Change Agent และบุคลากรบางส่วน ศึกษาดูงานในองค์กรที่การจัดทำค่านิยมองค์กร ได้ประสบความสำเร็จ
6.3.4. HOS.35-อัตราบุคลากรมีความผูกพันและภาคภูมิใจต่อองค์กร
6.3.4.1. 5.3.15.ส่งเสริมบรรยากาศในการทำงานตามแนวทาง งานบันดาลใจ
6.3.4.2. 5.3.16.พัฒนาสภาพแวดล้อมในการทำงานตามแนวทางของ Happy Workplace
6.3.4.3. 5.3.17.พัฒนาระบบบริหารผลการปฏิบัติงานให้บุคลากรทุกคน เชื่อมโยงผลงานสู่วิสัยทัศน์ขององค์และมีส่วนร่วมในการ ออกแบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน
6.3.4.4. 5.3.18.การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานเพื่อให้สะท้อนผลการปฏิบัติงาน
6.3.4.4.1. 1.พัฒนาระบบบริหารความก้าวหน้าในอาชีพ ให้บุคลากรทุกคนเชื่อมโยงผลงนสู่วิสัยทัศน์ขององค์ และมีส่วนร่วมในการออกแบบการบริหารความก้าวหน้า
6.3.4.4.2. 2.ให้โอกาสกับคนภายในองค์กร และกำหนดหลักเกณฑ์ และการดำเนินงานที่ชัดเจนภายใต้ มาตรฐานที่สำนักงาน ก.พ. กำหนด
6.3.4.4.3. 3.พัฒนาระบบการบริหารค่าตอบแทน โดยเน้นการสื่อสารถึงโครงสร้างของค่าตอบแทน แนวทางการบริหารค่าตอบแทนขององค์กร
7. S7.การจัดการความรู้ในองค์กร
7.1. G7.1.มีคลังความรู้ที่จำเป็นและเป็นประโยชน์ ต่อองค์กรที่ทันสมัย เข้าถึงง่าย
7.1.1. HOS.41-ระดับความสำเร็จการจัดการความรู้องค์กร
7.1.1.1. 7.1.1.พัฒนาทีมวิชาการให้มีความสามารถในการจัดการความรู้ ตามหลักทูน่าโมเดล
7.1.1.2. 7.1.2.กำหนดชุดข้อมูลความรู้ที่จำเป็นสำหรับองค์กร
7.1.1.3. 7.1.3.สร้างระบบการจัดเก็บข้อมูลที่เข้าถึงได้ง่าย
7.2. G7.2.มีช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพ
7.2.1. HOS.43-จำนวนช่องทางที่มีการเข้าถึงความรู้ตามเกณฑ์ที่กำหนด
7.2.1.1. 7.2.1.ส่งเสริมบรรยากาศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
7.2.1.2. 7.2.2.สร้างเครือข่ายและเวทีเพื่อการจัดการความรู้อย่างต่อเนื่อง
7.2.1.3. 7.2.3.พัฒนาช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้