จริยธรรมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

Cooperation

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
จริยธรรมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร by Mind Map: จริยธรรมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

1. .การละเมิดสิทธิส่วนบุคล

1.1. 24168

1.1.1. ห้ามขโมยข้อมูลส่วนตัวคนอื่น เพื่อนำไปแสวงหากำไร

1.2. 24229

1.2.1. ห้ามรวบรวมข้อมูลส่วนตัวของผู้อื่นเพื่อนำไปสร้างประวัติลูกค้ามาใหม่แล้วนำไปขายให้บริษัทอื่น

1.2.1.1. shk,

1.3. 24230

1.3.1. ห้ามดูอีเมลล์ของผู้อื่นก่อนได้รับอนุญาต

1.4. 24234

1.4.1. ห้ามนรหัสของผู้อื่นไปใช้ในทางที่ผิด เช่น นำรหัสFacebookไปโพสในสิ่งที่ทำให้เจ้าของเสียหาย

1.5. 24235

1.5.1. ห้ามใช้เทคโนโลยีในการติดตามหรือค้นหาผู้อื่นก่อนได้รับอนุญาติ

1.6. 24231

1.6.1. ห้ามขโมยข้อมูลคนอื่นในขณะที่คนอื่นกำลังส่งข้อมูล

1.7. 24232

1.7.1. ห้ามนำผลงานของผู้อื่นโดยการ coppy มาเป็นของตนเอง แล้วนำไปเสนอผลงาน

1.8. 24236

1.8.1. หมายถึงการทีใช้สิทธิของตนเกินขอบเขต จนไปละเมิดสิทธิของผู้อื่น

2. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ

2.1. 24248

2.1.1. เผยแพร่ภาพที่ทำให้ผู้อื่นเสียหาย

2.2. 24249

2.2.1. การเจาะข้อมูลผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต

2.3. 24250

2.3.1. คัดลอกงานผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต

2.4. 24251

2.4.1. 24254

2.4.1.1. ส่งข้อมูลหลอกลวงผู้อื่น

2.4.2. การปล่อยไวรัสเพื่อทำลายระบบคอมพิวเตอร์ผู้อื่น

2.5. 24252

2.5.1. เผยแพร่ความลับของบริษัท

2.6. 24253

2.6.1. ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล

2.7. 24255

2.7.1. การเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวของผู้อื่น

3. การละเมิดลิขสิทธิทางอ้อมคือ: การกระทำทางการค้า หรือส่งเสริมการละเมิดลิขสิทธิโดยรู้อยู่แล้วแต่ก็หวังผลกำไรจากการส่งเสริม เช่นการค้า การให้เช่า

4. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ

4.1. 24256

4.1.1. ใช้คุ้มครองและลงโทษผู้ละเมิดสิทธิส่วนตัวทางเทคโนโลยีของผู้อื่น

4.2. 24257

4.2.1. ประเทศไทยก็ได้มีการร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งสิ้น 6 ฉบับ

4.3. 24258

4.3.1. กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ จะต้องเป็นกฎหมายลักษณะพิเศษ เป็นที่ยอมรับในระดับสากล

4.4. 24259

4.4.1. ร่างกฏหมายขึ้นเพื่อคุ้มครองผู้ใช้อินเทอร์เน็ตป้องกันปัญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอร์

4.5. 24260

4.5.1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้มีความเท่าเทียมกัน

4.6. 24261

4.6.1. ในพระราชบัญญัติจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ หมวดความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และหมวด อำนาจของเจ้าหน้าที่ พ.ร.บ.

4.7. 24372

4.7.1. เป็นพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550

5. 2 การละเมิดลิขสิทธิ์

5.1. 24237

5.1.1. ลิขสิทธิ์ เป็นทรัพย์สินทางปัญญา ที่กฎหมายให้ความคุ้มครองโดยให้เจ้าของลิขสิทธิ์ถือสิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะทำการใดๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้กระสร้างขึ้น

5.2. 24238

5.2.1. พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ คือ กฎหมายที่มีใว้คุ้งครองผลงานสร้างสรรค์ที่บุคคลสร้างขึ้น

5.3. 24239

5.3.1. การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง การทำซ้ำ ดัดแปลง เผยแพร่โปรแกรมแก่สาธารณชนโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์

5.4. 24241

5.5. 24244

5.5.1. การติดตั้งซอฟต์แวร์ลงในฮาร์ดดิสก์ โดยแนะนำให้ลูกค้าซื้อซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธิ์ โดยบอกว่าตนเองเเค่ติดตั้งให้เท่านั้น

5.6. 24243

5.6.1. การทำสำเนาโดยผู้ใช้งาน คือ การทำสำเนาโดยผู้ใช้งานทำสำเนาแจกจายผู้ใช้อื่น แม้ว่าจะเป็นสำเนาจากซอฟต์แวร์แท้ก็ตาม

5.7. 24245

5.7.1. การปลอมแปลงสินค้า เช่น การปลอมแปลง CD หรือซอฟต์แวรืมาจำหน่าย

5.8. 24246

5.8.1. การละเมิดลิขสิทธิ์ Online คือการ Download ซอฟต์แวร์ผ่าน Internet โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์

5.9. 24247

5.9.1. .การขายหรือใช้ลิขสิทธิ์ผิดประเภท ผู้ขายซอฟแวร์บางรายขายซอฟแวร์แบบผิดประเภทให้ผู้ซื้อทำให้ผู้ซื้อมีความเสี่ยงทางกฎหมายโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์