The Information Cycle

Plan your projects and define important tasks and actions

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
The Information Cycle by Mind Map: The Information Cycle

1. Research and information to different disciplines

1.1. มนุษยศาสตร์

1.1.1. จุดประสงค์ : ทำความเข้าใจและวิเคราะห์ความหมายของเหตุการณ์ของแต่ละบุคคล,ประชาชน,งานความคิดสร้างสรรค์

1.1.1.1. ระเบียบการวิจัย : คุณภาพ

1.1.1.1.1. ตัวอย่างสารสนเทศทุติยภูมิและตติยภูมิ หนังสือ,วารสาร,บทความ,หนังสือคู่มือ,หนังสืออ้างอิง

1.1.2. ระเบียบการวิจัย : คุณภาพ

1.1.3. ตัวอย่างสารสนเทศปฐมภูมิ งานสร้างสรรค์,ไดอารี่,จดหมาย,บทสัมภาาณ์,ภาพข่าว

1.1.4. ตัวอย่างสารสนเทศทุติยภูมิและตติยภูมิ หนังสือ,วารสาร,บทความ,หนังสือคู่มือ,หนังสืออ้างอิง

1.2. วิทยาศาสตร์

1.2.1. จุดประสงค์ : สังเกตการณ์และทำความเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ

1.2.2. ระเบียบการวิจัย : คุณภาพ

1.2.3. ตัวอย่างสารสนเทศปฐมภูมิ ผลการทดลอง การวิจัยและการทดลองทางคลินิก

1.2.4. ตัวอย่างสารสนเทศทุติยภูมิและตติยภูมิ หนังสือ บทความ วารสาร ตำรา และวัสดุอ้างอิง

1.3. สังคมศาสตร์

1.3.1. จุดประสงค์ : จะมีปฏิสัมพันธ์เข้าใจปัญหาและเข้าใจการแก้ปัญหากลุ่มสังคม

1.3.2. ระเบียบการวิจัย : เชิงปริมาณ ,คุณภาพ

1.3.3. ตัวอย่างสารสนเทศปฐมภูมิ สถิติของมนุษย์ การสำราจสำมะโนประชากร ข้อมูลพฤติกรรมผลของการทดลอง

1.3.4. ตัวอย่างสารสนเทศทุติยภูมิและตติยภูมิ หนังสือ บทความ วารสาร ตำรา และวัสดุอ้างอิง

2. Research cycle

2.1. วัสดุอ้างอิง

2.1.1. ข้อเท็จจริงพื้นฐานและภาพรวมของหัวข้อ

2.2. หนังสือพิมพ์และนิตยสาร

2.2.1. บทสัมภาษณ์และรายละเอียดจากเวลาของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและทำบทบรรณาธิการซึ่งเป็นบทที่แสดงทัศนะที่มีต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งของหนังสือพิมพ์ฉบับนั้น

2.3. หนังสือ

2.3.1. ความเป็นมาและข้อมูลในเชิงลึก

2.4. บทความทางวิชาการ

2.4.1. การวิจัยทางวิชาการและการวิเคราะห์

3. Types of Sources

3.1. คำนิยามของสารสนเทศปฐมภูมิ

3.1.1. คำนิยาม

3.1.1.1. เอกสารต้นฉบับที่สร้างขึ้นหรือมีประสบการณ์จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

3.1.2. ลักษณะ

3.1.2.1. สังเกตจากประสบการณ์ตรงร่วมกับคนที่อยู่ในเหตุการณ์จริงผ่านมุมมองที่ต่างกัน

3.1.3. ตัวอย่าง

3.1.3.1. บทสัมภาษณ์ รายงาน การศึกษา ภาพข่าว สมุดบันทึกของคนในเหตุการณ์

3.2. คำนิยามของสารสนเทศทุติยภูมิ

3.2.1. คำนิยาม

3.2.1.1. ประเมินวิเคราะห์เหตุการณ์โดยใช้จากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ

3.2.2. ลักษณะ

3.2.2.1. มักเขียนหลังจากเกิดเหตุการณ์ซึ่งจะมีการแสดงความคิดเห็นและวิพากษ์วิจารณ์ถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

3.2.3. ตัวอย่าง

3.2.3.1. บทความวารสาร บทบรรณาธิการ บทวิจารณ์วรรณกรรม หนังสือชีวประวัติ

3.3. คำนิยามของสารสนเทศตติยภูมิ

3.3.1. คำนิยาม

3.3.1.1. ข้อมูลที่ชี้แนะแหล่งที่อยู่ของข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ

3.3.2. ลักษณะ

3.3.2.1. อ้างอิงผลงาน เก็บรวบรวมข้อมูลและเครื่องมือสำหรับสืบค้นจากแหล่งปฐมภูมิและทุติยภูมิ

3.3.3. ตัวอย่าง

3.3.3.1. สารานุกรม ดัชนี เอกสารอ้างอิง ฐานข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์

4. A Timeline of Information

4.1. นาที

4.1.1. โทรทัศน์,วิทยุและข่าวทางอินเตอร์เน็ต รายงานข้อเท็จจริงพื้นฐานของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นซึ่งข้อเท็จจริงอาจจะไม่ถูกต้องหรือไม่ได้ตรวจสอบ

4.2. ชั่วโมง

4.2.1. ประชาชนเริ่มมีการสนทนา วิพากษ์ วิจารณ์ วิเคราะห์ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

4.3. วัน

4.3.1. ผู้สื่อข่าวรายงานข้อมูลใหม่ๆอย่างต่อเนื่องรวมถึงมีความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ

4.4. สัปดาห์

4.4.1. นิตยสารข่าว มีการวิเคราะห์ถึงสาเหตุของเหตุการณ์ตั้งแต่เริ่มต้น เว็บไซต์ต่างๆ เช่น ห้องสนทนา บล็อกต่างๆจะแสดงความคิดเห็นในลักษณะที่มีอคติ

4.5. เดือน

4.5.1. 1 เดือน หลังจากเหตุการณ์ นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญในสาขาแตกต่างกัน เริ่มการวิจัยและศึกษาหัวข้อต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น บทความทางวิชาการที่ปรากฎในวารสารวิชาการซึ่งเน้นการเขียนแบบวิเคราะห์มากขึ้น

4.6. งานวิจัยทางวิชาการ และ การวิเคราะหืการผลิต

4.6.1. เมื่อเวลาผ่านไปมีการสรุปข้อเท็จจริงและภาพรวมของเหตุการณืที่ปรากฏในรูปของสิ่งพิมพ์และเอกสารอ้างอิงออนไลน์ เช่น สารานุกรมและพจนานุกรม

5. สมาชิก

5.1. นางสาว เกศศิณี ภูพลผัน 573080625-5

5.2. นางสาว ศุภิสรา หมั่นหินลาด 573080067-3

5.3. นางสาว สุภาภรณ์ บางละมาต 573080071-2

5.4. นางสาว ภัทรสุดา อุปมะ 573080709-9

5.5. นางสาว เจนจิรา ชินเนหันหา 573080456-2

5.6. นางสาว สิริลักษณ์ จูมวงศ์ 573080716-2