คลื่น

Plan your website and create the next important tasks for get your project rolling

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
คลื่น by Mind Map: คลื่น

1. คลื่นกล

1.1. ความหมาย

1.1.1. ปรากฏการณ์ที่เกิดจากการรบกวนแหล่งกำเนิดแล้วทำให้พลังงานที่เกิดจากการรบกวนกระจายออก

1.2. ชนิดของคลื่น

1.2.1. คลื่นตามขวาง

1.2.1.1. ทิศทางการเคลื่อนที่อนุภาคและหน้าคลื่นทิศทางตั้งฉากกัน

1.2.2. คลื่นตามยาว

1.2.2.1. ทิศทางการเคลื่อนที่อนุภาคและหน้าคลื่นทิศทางเดียวกัน

1.3. สมบัติของคลื่น

1.3.1. สะท้อน

1.3.2. หักแห

1.3.2.1. จากโจทย์ λ1 = 0.01 m λ2 = 0.0075 m v1 = ?v2

1.3.2.1.1. จากสูตร

1.3.3. เลี้ยวเบน

1.3.3.1. จากโจทย์ หาจำนวนแนวบัพทั้งหมดที่เกิดขึ้น (ใช้มุม เท่ากับ 90 องศา) จากโจทย์ d = 5 λ n = ? และจาก dsin θ= n λ 5λsin90° = n λ n = 5

1.3.3.1.1. จากโจทย์ d = 5 λ

1.3.3.1.2. n = 1

1.3.3.1.3. θ= ?

1.3.3.1.4. และจาก dsin θ= n λ

1.3.3.1.5. 5sin θ= n λ

1.3.3.1.6. θ= sin-1(0.2)

1.3.3.2. มี2ชนิด

1.3.3.2.1. ช่องเปิดเดี่ยว

1.3.3.2.2. ช่องเปิดคู่

1.3.4. แทรกสอด

1.4. องค์ประกอบของคลื่น

1.4.1. สันคลื่น (Crest) เป็นตำแหน่งสูงสุดของคลื่น

1.4.2. ท้องคลื่น (Crest) เป็นตำแหน่งต่ำสุดของคลื่น

1.4.3. ความยาวคลื่น (wavelength) เป็นความยาวของคลื่นหนึ่งลูกมีค่าเท่ากับระยะระหว่างสันคลื่นหรือท้องคลื่นที่อยู่ถัดกัน

1.4.4. ความถี่ (frequency) หมายถึง จำนวนลูกคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านตำแหน่งใด ๆ ในหนึ่งหน่วยเวลา

1.4.5. คาบ (period) หมายถึง ช่วงเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านตำแหน่งใด ๆ ครบหนึ่งลูกคลื่น

1.4.6. หน้าคลื่น(wave front) เป็นแนวเส้นที่ลากผ่านตำแหน่งที่มีเฟสเดียวกันบนคลื่น

1.5. อัตราเร็ว

1.5.1. โจทย์กำหนด ความยาวคลื่น = 0.06 ความถี่ = 40

1.5.1.1. ตอบ2.4 m/s

2. คลื่นเสียง

2.1. เสียง

2.1.1. เป็นพลังงานรูปหนึ่งเกิดจากการสั่นของวัตถุและมีกรถ่ายโอนพลังงานผ่านตัวกลางส่งต่อไปยังตำแหน่งต่างๆ

2.1.2. เสี่ยงเป็นคลื่นตามยาวมีส่วนอัดส่วนขยาย

2.1.3. เสียงเป็นคลื่นกลต้องอาศัยตัวกลางการเคลื่อนที่

2.2. ความเข้มเสียง

2.2.1. คือพลังงานที่ตกบน 1 ตารางพื้นที่

2.2.2. I=P/A

2.2.2.1. ex. โจทย์กำหนด P= 10^-4 w และA=10^2 m2

2.2.2.1.1. ans10w/m2

2.3. ระดับความเข้มเสียง

2.3.1. โจทย์

2.4. ความสัมพันธ์เสียงกับอุณหภูมิ

2.5. สมบัติคลื่นเสียง

2.5.1. สะท้อน

2.5.2. หักเห

2.5.3. เลี้ยวเบน

2.5.4. แทรกสอด

2.6. บีสต์

2.6.1. เกิดขึ้นเมื่อเสียงจากแหล่งกำเนิดสองแหล่งที่ความถี่ต่างกันเล็กน้อย เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางเดียวกันในเวลาและทิศเดียวกันก็จะรวมกันตามหลักการซ้อนทับของคลื่นทำให้คลื่นรวมที่ได้เคลื่อนที่ผ่านผู้ฟังซึ่งอยู่กับที่เป็นเสียงดังค่อย ดังค่อยสลับกันไปเป็นจังหวะที่คงตัว เรียกว่า บีตส์ของเสียง

2.6.2. โจทย์

2.7. การสั่นพ้อง

2.7.1. การที่วัตถุสั่นด้วยความถี่ธรรมชาติโดยแอมปลิจูดของการสั่นมากขึ้นเรื่อยๆ ถ้าเป็นคลื่นเสียงก็จะทำให้เสียงดังมากขึ้น จนอาจทำให้วัตถุเสียหายได้ หรือเกิดความรำคาญได้ การสั่นพ้อง

2.7.2. ชนิด

2.7.2.1. ท่อปลายปิดข้างหนึ่ง

2.7.2.2. ท่อปลายเปิดสองข้าง

2.8. คลื่นกระแทก

2.8.1. เกิดขึ้นเมื่อแหล่งกำเนิดคลื่นเคลื่อนที่เร็วกว่าอัตราเร็วคลื่นในตัวกลางนั้นเช่นคลื่นกระแทกของคลื่นที่ผิวน้ำขณะที่เรือกำลังวิ่ง หรือคลื่นเสียงก็เกิดขึ้นเมื่อเครื่องบินบินเร็วกว่าอัตราเร็วของเสียงในอากาศ ดังแสดงในรูป

2.8.2. สูตร

2.9. ระดับเสียงและเสียงดนตรี

2.9.1. ระดับเสียงหมายึงเสียงสูงต้ำ

2.9.2. เสียงคู่แปดคือเสียงที่มีความถี่เป็นสองเท่าซึ่งกันและกัน

2.9.3. โนีต

3. คลื่นแสง

3.1. เงา

3.1.1. แหล่งกำเนิดเป็นจุด

3.1.1.1. จะมีแต่เงามืด

3.1.2. แกล่งกำเนิดมีขนาด

3.1.2.1. เกิดทั้งเงามืดและเงามัว

3.2. การทดลองหาอัตาเร็วแสง

3.2.1. กาลิเลโอ

3.2.1.1. สรุปว่าแสงเดินทางเร็ว

3.2.2. โรเมอร์

3.2.2.1. คำนวนจันทรุปราคาดวงจันทร์ของดาวพฤหัส

3.2.2.1.1. 2.2*10^8 m/s

3.2.3. ฟิโซ

3.2.4. โจทย์

3.2.4.1. หาขนาดเงามืด เงามัว

3.2.4.1.1. ใช้สามเหลี่ยมคล้าย

3.3. กระจกและเลนส์

3.3.1. ราบ

3.3.1.1. ภาพเสมือน

3.3.1.2. เท่าวัตถุ

3.3.2. กระจกนูนและเลนส์เว้า

3.3.2.1. ระหว่าcกับf

3.3.2.1.1. เสมือน ย่อ

3.3.3. กระจกเว้าและเลน์นูน

3.3.3.1. นอกจุดc

3.3.3.1.1. จริง เล็ก

3.3.3.2. จุดc

3.3.3.2.1. จริง เท่า

3.3.3.3. ระหว่างจุดcและf

3.3.3.3.1. จริงใหญ่

3.3.3.4. ที่จุดf

3.3.3.4.1. เกิดภาพที่อนันต์

3.3.3.5. หน้าจุดf

3.3.3.5.1. เสมือนใหญ่

3.3.4. สูตร

3.4. มุมวิกฤติ

3.4.1. มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเหเท่ากับ 90 ํ

3.5. ลึกจริงลึกปรากฏ

3.5.1. nวัตถุ/nตา=ลึกจริง/ลึกปรากฏ

3.6. แนวโจทย์

3.6.1. บอกลึกจริงวัตถุ n(air) n(น้ำ)หาลึกปรากฏ

3.6.2. เลนส์ซ้อนเลนส์

3.6.3. เทียบจากสูตรหักแห

4. แสงเชิงฟิสิก

4.1. ช่องเดี่ยว

4.1.1. แถบกลางสว่างเป็น2เท่าของแถบอื่น

4.2. ช่องคู่

4.2.1. แถบมืดแถบสว่างเท่า

4.3. สูตร

4.4. แนวข้อสอบ

4.4.1. ช่องเดี่ยวหาแถบสว่างกลาง

4.4.2. ช่องเดี่ยวหาระยะก่างจากแนวกลาง