Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Physics by Mind Map: Physics

1. คลื่นกล

1.1. สมบัติของคลื่น

1.1.1. สะท้อน

1.1.1.1. ปลายปิด

1.1.1.1.1. เฟสตรงข้ามเดิม

1.1.1.2. ปลายเปิด

1.1.1.2.1. เฟสเหมือนเดิม

1.1.1.3. กฎการสะท้อน

1.1.1.3.1. มุมตกกระทบ=มุมสะท้อน

1.1.1.3.2. รังสีตกกระทบ รัวสีสะท้อนและเส้นแนวตั้งฉากต้องอยู่บนระนาบเดียวกัน

1.1.2. หักเห

1.1.2.1. น้ำลึก

1.1.2.2. น้ำตื้น

1.1.2.2.1. V น้อย

1.1.2.2.2. แลมดา น้อย

1.1.2.2.3. มุม เล็ก

1.1.2.3. มุม วัดได้จาก

1.1.2.3.1. รังสีทำกับคลื่นแนวฉาก

1.1.2.3.2. หน้าคลื่นทำกับรอยต่อ

1.1.3. เลี้ยวเบน

1.1.3.1. การที่คลื่นเคลื่อนที่ไปหลังวัตถุ

1.1.3.2. หลักฮอยเกนส์

1.1.3.2.1. ทุกจุดบนหน้าคลื้นเป็นแหล่งกำเนิดมหม่ทำให้คลื่นเคลื่อนที่ไปทุกทาง V เท่าเดิม

1.1.4. แทรกสอด

1.1.4.1. ช่องคู่

1.1.4.1.1. A ลงตัว

1.1.4.1.2. N ลงครึ่ง

1.1.4.2. ช่องเดี่ยว

1.1.4.2.1. N ลงตัว

1.1.4.2.2. A ลงครึ่ง

1.1.4.3. สูตร

1.1.4.3.1. S,P-S,,P=nแลมดา

1.1.4.3.2. dsin○=nแลมดา

1.1.4.3.3. d(X/L)=nแลมดา

1.2. สมบัติของอนุภาค

1.2.1. สะท้อน

1.2.2. หักเห

1.3. โจทย์

1.3.1. ถ้าทราบนระยะ S1 และS2 ให้ใช้สูตร S1-S2=nแลมดา

1.3.2. ถ้าทราบมุมที่เบนจากแนวกลางให้ใช้สูตร dsin○=nแลมดา

2. เสียงและการได้ยิน

2.1. การสั่นพ้อง

2.1.1. การที่แรงมากระทำให้วัตถุสั่นด้วย f เท่ากับ f ธรรมชาติของวัตถุนั้นทำให้วัตถุนั้นสั่นแรงขึ้น

2.1.2. ปลายปิด

2.1.2.1. New node

2.1.3. ปลายเปิด

2.2. สูตรหาความเร็วเสียงเมื่อมี C° คือ Vt=331+0.6t

2.3. บีตส์

2.3.1. ความถี่บีตส์ = |f1-f2|

2.3.2. ความถี่เสียงบีตส์ที่เราได้ยอน = (f1+f2)/2

2.4. ความเร็วเสียง

2.4.1. v=s/t

2.4.2. v=fแลมดา

2.5. ความเข้มเสียง

2.5.1. I=P/A

2.5.2. I=P/[4พาย(R×R)]

2.6. ระดับความเข้มเสียง

2.6.1. แอลฟ้า=I/I (เบล)

2.6.2. เบต้า = 10logI/I (เดซิเบล)

2.7. ความถี่มูลฐาน

2.7.1. ท่อปลายปิด

2.7.1.1. harmonic เป็นเลขคี่ f,3f,5f...

2.7.2. ท่อปลายเปิด

2.7.2.1. harmonic เป็นเลขเรียง f,2f,3f...

2.8. ปรากฏการณ์ดอปเปอร์

2.8.1. เป็นปรากฏการณ์ที่ผู้ฟังจะได้ยิรเสียงที่มีความถี่เปลี่ยนไปจากความถี่จริง

2.8.2. การคำนวณ

2.8.2.1. การเคลื่อนที่ของผู้ฟังไม่เกี่ยวข้องกับความยาวคลื่นเสียง

2.8.2.2. เมื่อแหล่งกำเนิดเคลื่อนที่

2.8.2.2.1. แลมดาหน้ารถจะสั้นลง

2.8.2.2.2. แลมดาหลังรถจะยาวขึ้น

2.9. คลื่นกระแทก/กรวยเสียง

2.9.1. sin○=u/vS

2.9.2. เลขมัค = ความเร็วแหล่งกำเนิด/ความเร็วเสียง

2.9.3. ความเร็ววัตถุเคลื่อนที่เร็วกว่าความเร็วแสง ทำให้เกิดเสียงดังอย่างรุนแรง

3. แสงและทัศนอุปกรณ์

3.1. สูตร

3.1.1. สูตรลัด

3.1.1.1. m = f/(s-f)

3.1.1.2. m = (s'-f)/f

3.1.2. สูตรหลัก

3.1.2.1. 1/f=1/s+1/s'

3.1.2.2. m=1/O = s'/s

3.1.3. สูตรกระจกนูน,สูตรกระจกเว้า

3.1.3.1. f= R/2

3.2. การเกิดกระจกเว้า,เลนส์นูน

3.2.1. การสะท้อน

3.2.1.1. เกิดได้ทั้งภาพจริงและเสมือน

3.2.1.2. ถ้าถาพจริงมีขนาดเล็ก/ใหญ่กว่าวัตถุ

3.2.1.3. ถ้าภาพเสมือนจะมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุ

3.3. กรเกิดภาพกระจกนูน,เลนส์เว้า

3.3.1. การสะท้อน

3.3.1.1. เกิดแต่ภาพเสมือน,ขนาดย่อ ในระยะโฟกัส

3.4. แสงสีและสารสี

3.4.1. ลักษณะวัตถุ

3.4.1.1. วัตถุโปร่งใส

3.4.1.2. วัตถุโปร่งแสง

3.4.1.3. วัตถุทึบแสง

3.4.2. การผสมของแสงสีและสารสี

3.4.2.1. แสงสี

3.4.2.1.1. แม่สี : แดง เขียว น้ำเงิน

3.4.2.1.2. รวมกันได้สีขาว

3.4.2.2. สารสี

3.4.2.2.1. แม่สี : เหลือง แดงม่วง น้ำเงินเขียว

3.4.2.2.2. ทุกสีรวมกันได้สีแดง

3.5. การหักเห

3.5.1. คทอการที่แสงเปลี่ยน v,แลมดา เมื่อเคลื่อนที่ในตัวกลางต่างชนิดกัน (แต่fคงที่)

3.5.2. ลึกจริง/ลึกปรากฏ = nวัตถุ/nตา

3.5.3. สูตร

3.5.3.1. n1v1=n2v2

3.5.3.2. n1sin○1=n2sin○2

3.5.3.3. n1แลมดา1=n2แลมดา2

3.6. มุมวิกฤต

3.6.1. เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่n มาสู่n น้อยรังสีตะเบนออกจะเส้นตั้งฉาก

3.6.2. คือ มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเหเป็น90°

3.6.3. สามมารถนำหลักการไปใช้ในเส้นใยนำแสง

3.6.3.1. กรสื่อสาร : นำสัญญาณดิจิตอล

3.6.3.2. การแพทย์ : เอนโดสโดป

3.7. ทัศนอุปกรณ์

3.7.1. แว่นขยาย

3.7.1.1. เป็นเลนส์นูนอันเดียว

3.7.1.2. ต้องวางวัตถุไว้ในระยะโฟกัสของเลนส์จะทำให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดขยาย

3.7.2. กล้องถ่ายรูป

3.7.2.1. เป็นเลนส์นูนอันเดียว

3.7.2.2. ส่วนประกอบ

3.7.2.2.1. เลนส์>เป็นเลนส์นูนเพื่อรวมแสง

3.7.2.2.2. ไดอะเฟรม>เป็นช่องเพื่อเปิดแสงให้เข้าคล้ายม่านตาในมนุษย์

3.7.2.2.3. วงแหวนปรับความคมชัด>เปลี่ยนระยะภาพ

3.7.2.2.4. ชัดเตอร์>ทำหน้าที่เปิด ปิดแสงเข้ากล้องสามารถตั้งความเร็วชัตเตอร์ได้

3.7.3. เครื่องฉายภาพนิ่ง

3.7.3.1. เป็นเลนส์นูนเดียว

3.7.3.2. วางวัตถุไว้ระหว่าง 2F กับ F จะได้ภาพจริงหัวกลับขนาดขยาย

3.7.3.3. มีกระจกสะท้อนแสงและเลนส์รวมแสง เพื่อเพิ่มความเข้มของแสง

3.7.4. การกระเจิงของแสง

3.7.4.1. การที่แสงเคลื่อนที่ไปชนอนุภาคเล็กๆ แล้วทำให้โมเลกุนสั่น

3.7.4.2. ถ้าอนุภาคมีขนาดใกล้เคียงความยาวคลื่นแสงจะกระเจิงได้ดี