อัตลักษณ์เรา อัตลักษณ์เขา กลุ่ม 2

นักเรียนดูภาพในกิจกรรม “อัตลักษณ์เรา อัตลักษณ์เขา” แล้วให้ร่วมกันวิเคราะห์อัตลักษณ์ของประเทศที่กำหนดให้เป็น MindMapping 1 ชิ้น

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
อัตลักษณ์เรา อัตลักษณ์เขา กลุ่ม 2 by Mind Map: อัตลักษณ์เรา อัตลักษณ์เขา กลุ่ม 2

1. ไทย

1.1. การแต่งกาย

1.1.1. ผู้หญิงใส่ชุดไทยจักรี (Chakri) ผู้ชายใส่เสื้อพระราชทาน

1.2. ศาสนา

1.2.1. ประมาณร้อยละ 95 ของประชากรไทยนับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ซึ่งเป็นศาสนาประจำชาติโดยพฤตินัย ศาสนาอิสลามประมาณร้อยละ 4 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวไทยทางภาคใต้ตอนล่าง ศาสนาคริสต์และศาสนาอื่นประมาณร้อยละ 1

1.3. วัฒนธรรม

1.3.1. วัฒนธรรมในระดับภูมิภาคของสังคมไทย แบ่งตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ เป็น 4 ภาคใหญ่ ๆ

1.3.1.1. ภาคเหนือ

1.3.1.1.1. ประเพณีปอยหลวง การกินขันโตก พิธีสืบชะตาเมือง

1.3.1.2. ภาคกลาง

1.3.1.2.1. ประเพณีทำขวัญข้าว การบูชาแม่โพสพ การลงแขกเกี่ยวข้าวและลำตัด

1.3.1.3. ภาคอีสาน

1.3.1.3.1. ประเพณีผีตาโขน ประเพณีแห่ปราสาทผึ้งและหมอลำ

1.3.1.4. ภาคใต้

1.3.1.4.1. การเต้นรองเง็ง หนังตะลุง และรำมโนราห์

1.3.2. วัฒนธรรมพื้นบ้านของสังคมไทย

1.3.2.1. งานจักสาน งานถักทอ งานปั้น งานแกะสลักคำพังเพย ปริศนาคำทาย เพลงพื้นบ้าน ภาษาท้องถิ่น

2. มาเลเซีย

2.1. การแต่งกาย

2.1.1. ผู้ชาย : บาจู มลายู

2.1.2. ผู้หญิง : บาจูกุรุง

2.2. ศาสนา

2.2.1. อิสลาม (ศาสนาประจำชาติ ร้อยละ 60.4) พุทธ (ร้อยละ 19.2)

2.2.2. พุทธ (ร้อยละ 19.2)

2.2.3. คริสต์ (ร้อยละ 11.6)

2.2.4. ฮินดู (ร้อยละ 6.3)

2.2.5. อื่น ๆ (ร้อยละ 2.5)

2.3. วัฒนธรรม

2.3.1. วัฒนธรรม และประเพณีต่างๆของมาเลเซีย หลายคนคงรู้จักการละหมาด ซึ่งประเทศมาเลเซียนั้นมีผู้นับถือศาสนาอิสลามมากที่สุดในประเทศ โดยมีมากถึง 55% การ ละหมาด เป็นการปฏิบัติศาสนกิจอย่างหนึ่งในศาสนาอิสลาม เพื่อเป็นการภักดีต่ออัลลอฮฺ มุสลิมทุกคนจะต้องละหมาด วันละ 5 เวลา เรียกว่า ละหมาดฟัรฎู ละหมาด หมายถึง การขอพร ความหมายทางศาสนาหมายถึง การกล่าวและการกระทำ ซึ่งเริ่มต้นด้วยตักบีร และ จบลงด้วยสะลาม การละหมาดเป็นการสร้างเอกภาพอย่างหนึ่งของมุสลิม เมื่อละหมาดมุสลิมทั่วโลก หันหน้าไปทางกิบละฮฺ เพื่อเคารพภักดีต่ออัลลอฮฺ การละหมาด ฝึกฝนให้เป็นคนตรงต่อเวลา มีความอดทน และขัดเกลาจิตใจ ให้บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่ประพฤติสิ่งหนึ่งสิ่งใดในทางชั่วร้าย มีสภาพคล้ายคลึงกับประเทศอินโดนีเซีย ชึ่งเป็นหมู่เกาะอิทธิพลของศาสนาอิสลามได้แพร่เข้ามาในแหลมมลายู ประชากรนับถือศาสนาอิสลาม 55% นับถือศาสนาพุทธ 25% นับถือศาสนาคริสต์ 13% นับถือศาสนาฮินดู 7% และลัทธิศาสนาพื้นเมือง 4% แต่การหันไปนับถือศาสนาอื่นที่ไม่ใช่อิสลามเป็นปัญหาอย่างมากเนื่องจากทาง ภาครัฐจะไม่เปลี่ยนข้อมูลทางราชการให้ มาเลเซียบัญญัติในรัฐธรรมนูญให้ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจำชาติ และผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะมีสิทธิพิเศษ คือ ได้รับเงินอุดหนุนทางด้านการศึกษา สาธารณะสุข การคลอดบุตร งานแต่งงานและงานศพตามนโยบาย "ภูมิบุตร.

3. เวียดนาม

3.1. การแต่งกาย

3.1.1. "ผู้หญิง" นุ่งกางเกงแพรยาว สวมเสื้อแขนยาว คอตั้งสูง ตัวเสื้อยาวลงมาจรดข้อเท้า ผ่า 2 ข้าง สูงแค่เอว พวกทำงานหนักจะสวมเสื้อสั้น มีกระเป๋า 2 ใบ แขนจีบยาว บางแห่งทางเหนือสวมกระโปรงยาวถึงข้อเท้า "ผม" ยาวเกล้ามวย สวมงอบสานด้วยใบลานทรงรูปฝาชี หรือใช้ผ้าสามเหลี่ยมคลุมศีรษะ ดึงชาย 2 ข้างมาผูกใต้คาง ถ้าเป็นทางเหนือแถวฮานอย ใช้ผ้าดำแถบยาวหุ้มผมซึ่งถักเปียไว้ให้มิด แล้วโอบพันศีรษะ ปัจจุบันนิยมตัดผมสั้น และดัดผมมากขึ้น สวมรองเท้าเกียะส้นสูง พ่นสีต่าง ๆ รองเท้าสตรีส้นรองด้วยพื้น ยาง คาดหลังด้วยหนังหรือพลาสติกสีต่าง

3.1.2. "ชาย" แต่งกายคล้ายหญิง บางครั้งสวมเสื้อกุยเฮง สวมหมวกสีดำเย็บด้วยผ้า ไม่มีปีก ปัจจุบันแต่งสากลกันมากแล้ว 

3.2. ศาสนา

3.2.1. ชาวเวียดนามนับถือศาสนาพุทธมาแต่ดั้งเดิม จึงมีพื้นฐานด้านจิตใจที่อุดมและลุ่มลึกทั้งยังยอมรับนับถือลิทธิขงจื้อ ลัทธิเต๋า และศานาคริสต์นิกายคาทอลิก อย่างไรก็ดี เวียดนาม ไม่มีศาสนาประจำชาติ รัฐธรรมนูญเวียดนามบัญญัติให้ประชาชนมีเสรี ในการเลือกนับถือศาสนานอกจากนั้นชาวเวียดนามยังนับถือลัทธิเต๋าและศาสนาพุทธนิกายมหายาน แต่ก็ยังมีชาวเวียดนามอีกจำนวนมากที่เคารพบูชาเทพเจ้าตามความเชื่อถือแต่ครั้งโบราณกาล

3.3. ศาสนาอื่นๆ เช่น ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม

3.4. วัฒนธรรม

3.4.1. วัฒนธรรมทางด้านภาษา ภาษาของเวียดนามในช่วงแรกใช้อักษรจีนมาตลอดจนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๓ จึงเปลี่ยนมาใช้ อักษรโรมัน (quoe ngu) และถ้าสังเกตจริง ๆ แล้วเป็นวัฒนธรรมของฝรั่งเศล และเมื่อนำมาเปรียบเทียบ การออกเสียงหรือความหมายของคำแล้วจะพบว่า ความใกล้เคียงของภาษาไทยกับภาษาลาวจะใกล้เคียง กันมากกว่า ภาษาเวียดนาม

3.4.2. การแต่งกายและการรักษาวัฒนธรรมทางการแต่งกาย ใน วัฒนธรรมประจำชาติของตน กล่าวคือ เยาวชนผู้หญิงยังคงนุ่งซิ่นกรวมเท้า สวมเสื้อมีปกสีขาวแขนสาม ส่วน ส่วนฝ่ายชายก็แต่งตัวเรียบร้อยนุ่งกางเกงทรงสุภาพและใส่เสื้อเชิ้ตเป็นส่วนใหญ่ ดังจะกล่าวถึงเครื่อง แต่งกายประจำชาติของเวียดนามก็คล้ายกับเครื่องแต่งกายของคนจีน

3.4.3. วัฒนธรรมพื้นบ้าน สิ่งก่อสร้าง รูปทรงและศิลป์การตกแต่งนับตั้งแต่ตึกรามบ้านช่องของคนเวียดนามยังคงมี รูปลักษณ์ของจีนอยู่มากแต่บางพื้นที่ก็มีศิลป์ของฝรั่งเศส หรือ ญี่ปุ่น อยู่อย่างกลมกลืน แม้จะเป็นศิลป์วัฒนธรรมของจีนแต่ในส่วนที่เป็นการตกแต่งดูจะมี ความอ่อนไหวกว่าเล็กน้อย แต่ถึงอย่างไรก็มองเหมือนศิลป์จีนชัดเจน

3.4.4. อาหารเวียดนามจากการสังเกต ตามตำรับจริงๆแล้วอาหารเวียดนามหลายชนิดที่หนักไปทางแป้ง บางอย่างก็มีไส้ บางอย่างก็มีแต่แป้งอย่างเดียว ราดน้าจิ้มที่มีเพียงแบบเดียวกันหมด

4. ลาว

4.1. การแต่งกาย

4.2. ศาสนา

4.3. วัฒนธรรม