อัตลักษณ์เรา อัตลักษณ์เขา กลุ่ม3

นักเรียนดูภาพในกิจกรรม “อัตลักษณ์เรา อัตลักษณ์เขา” แล้วให้ร่วมกันวิเคราะห์อัตลักษณ์ของประเทศที่กำหนดให้เป็น MindMapping 1 ชิ้น

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
อัตลักษณ์เรา อัตลักษณ์เขา กลุ่ม3 by Mind Map: อัตลักษณ์เรา อัตลักษณ์เขา กลุ่ม3

1. คริสต์ (ร้อยละ 11.6)

2. ศาสนาอิสลาม ส่วนใหญ่ที่พบจะเป็นทางภาคใต้ที่ติดกับประเทศมาเลเซีย

3. ไทย

3.1. การแต่งกาย

3.1.1. ชุดไทยพระราชนิยม

3.1.1.1. เสื้อสุภาพบุรุษ จะเรียกว่า "เสื้อพระราชทาน"

3.1.1.2. สุภาพสตรี ประกอบด้วยสไบเฉียง ใช้ผ้ายกมีเชิงหรือยกทั้งตัว ซิ่นมีจีบยกข้างหน้า

3.1.1.3. ศาสนา

3.1.1.3.1. ศาสนาพุทธเป็นส่วนใหญ่เพราะคนไทยนับถือศาสนาพุทธ จนได้ชื่อว่า สังคมเมืองพุทธ

3.2. วัฒนธรรมที่สืบเนื่องจากการทำเกษตรกรรม เช่นการเกี่ยวข้าว

3.3. วัฒนธรรม

3.3.1. ภาคเหนือ

3.3.2. ภาคกลาง

3.3.2.1. ผมจุก ผมเปีย และการโกนจุก

3.3.2.2. วัฒนธรรมการกินหมากพลู

3.3.3. ประเพณีตักบาตรดอกไม้ จัดเป็นประเพณีไทยภาคกลางที่สำคัญ เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา

3.3.4. การสร้างบ้านเรือนไทย หรือเรือนไทย

3.3.5. ภาคใต้

3.3.5.1. ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ

3.3.5.2. ประเพณีสารทเดือนสิบ

3.3.5.3. ประเพณีสืบชะตา ชาวล้านนามีความเชื่อว่า การทำพิธีสืบชะตาจะช่วยต่ออายุให้ตนเอง ญาติพี่น้อง และบ้านเมืองให้ยืนยาว ทำให้เกิดความเจริญรุ่งเรือง

3.3.5.3.1. ศาสนาคริสต์ ในประเทศไทยก็จะพบน้อยที่สุด

3.3.5.4. ประเพณีชักพระ ประกอบด้วยขบวนเรือที่ตกแต่งอย่างงดงาม ชาวบ้านจะช่วยกันชักพระ

3.3.6. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

3.3.6.1. ประเพณีบุญบั้งไฟ เป็นประเพณีที่ชาวอีสานจัดขึ้นในเดือน 6 เรียกกันว่า "บุญเดือนหก" มีจุดมุ่งหมายเพื่อ เป็นงานรื่นเริงครั้งใหญ่ก่อนการเริ่มทำนา เพื่อขอฝน

3.3.6.2. ประเพณีผีตาโขน เป็นงานบุญใหญ่ซึ่งเรียกกันว่า "งานบุญหลวง"

4. ผู้หญิง นุ่ง Patoi (มีลักษณะคล้ายผ้านุ่งของไทย) นิยมทำเป็นลายทาง ๆ เชิงผ้าเป็น สีแดงแก่ หรือน้ำตาลเข้ม ถ้าผ้านุ่งเป็นไหม เชิงก็จะเป็นไหมด้วย มักจะทอทองและเงินแทรกเข้าไป ไว้ผมเกล้ามวยประดับดอกไม้

5. เป็นการเต้นที่มีท่าตามจังหวะเพลง โดยจะเต้นพร้อมกันไปอย่างเป็นระเบียบ

6. สำหรับชุดประจำชาติมาเลเซียของผู้ชาย เรียกว่า บาจู มลายู (Baju Melayu) ประกอบด้วยเสื้อแขนยาวและกางเกงขายาวที่ทำจากผ้าไหม ผ้าฝ้าย หรือโพลีเอสเตอร์ที่มีส่วนผสมของผ้าฝ้าย ส่วนชุดของผู้หญิงเรียกว่า บาจูกุรุง (Baju Kurung) ประกอบด้วยเสื้อคลุมแขนยาว และกระโปรงยาว

7. วัฒนธรรม

7.1. วัฒนธรรมของมาเลเซียรุ่งเรืองและเต็มไปด้วยสีสัน และได้รับการสืบสานมาอย่างยาวนาน ประเทศมาเลเซียมีการร่ายรำ การละเล่น และ เทศกาลงานประเพณีที่น่าสนใจมากมาย

7.1.1. อิสลาม (ศาสนาประจำชาติ ร้อยละ 60.4)

8. เวียดนาม

8.1. การแต่งกาย

8.1.1. "ผู้หญิง" นุ่งกางเกงแพรยาว สวมเสื้อแขนยาว คอตั้งสูง ตัวเสื้อยาวลงมาจรดข้อเท้า ผ่า 2 ข้าง สูงแค่เอว

8.1.2. ชาย" แต่งกายคล้ายหญิง บางครั้งสวมเสื้อกุยเฮง สวมหมวกสีดำเย็บด้วยผ้า ไม่มีปีก ปัจจุบันแต่งสากลกันมากแล้ว 

8.1.3. เรียกว่าชุด อ่าวหญ่าย

8.2. ศาสนาพุทธ นิกายมหายานสูงถึงร้อยละ 70

8.3. ศาสนา

8.3.1. ศาสนาคริสต์ ร้อยละ 15

8.3.2. ที่เหลือนับถือลัทธิขงจื้อ มุสลิม

8.3.3. วัฒนธรรมพื้นบ้าน สิ่งก่อสร้าง รูปทรงและศิลป์การตกแต่งนับตั้งแต่ตึกรามบ้านช่องของคนเวียดนามยังคงมี รูปลักษณ์ของจีนอยู่มากแต่บางพื้นที่ก็มีศิลป์ของฝรั่งเศส หรือ ญี่ปุ่น อยู่อย่างกลมกลืน

8.3.3.1. ผู้ชาย นุ่ง Patoi เป็นการนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อชิ้น นอก กระดุมเจ็ดเม็ด

8.4. วัฒนธรรม

8.5. วัฒนธรรมทางด้านภาษา ภาษาของเวียดนามในช่วงแรกใช้อักษรจีนมาตลอดจนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๓ จึงเปลี่ยนมาใช้ อักษรโรมัน (quoe ngu)

9. ลาว

9.1. การแต่งกาย

9.2. รำวงบัดสลบ

9.3. ศาสนา

9.3.1. ศาสนาคริส ประมาณ 4%

9.3.2. ศาสนาอิสลาม ประมาณ 1%

9.4. วัฒนธรรม

9.4.1. ศาสนาพุทธ ประมาณ 95%

9.4.2. การตักบาตรข้าวเหนียว

9.4.2.1. เป็นจุดเด่นของเมืองหลวงพระบาง

10. มาเลเซีย

10.1. การแต่งกาย

10.2. ศาสนา

10.2.1. ฮินดู (ร้อยละ 6.3)

10.2.2. อื่น ๆ (ร้อยละ 2.5)

10.3. พุทธ (ร้อยละ 19.2)