1. วัฒนธรรม
1.1. ประเทศ มาเลเซียเป็นหนึ่งในบรรดาประเทศที่ประกอบขึ้นด้วยหลากหลายชาติพันธุ์ ประเทศมาเลเซียมีดินแดนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นรัฐต่างๆจำนวน 11 รัฐตั้งอยู่บนแหลมมลายู อีกส่วนหนึ่งมี 2 รัฐตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว ทั้งสองส่วนนี้มีความแตกต่างทางชาติพันธุ์ รัฐที่ตั้งอยู่บนแหลมมลายูประกอบด้วยชาติพันธุ์ใหญ่ๆจำนวน 3 ชาติพันธุ์ คือ มลายู จีน และอินเดีย ส่วนรัฐที่ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว มีจำนวนชาติพันธุ์หลายสิบชนเผ่า
2. การแต่งกาย
2.1. ชาย นุ่งโสร่งเป็นตา และสวมเสื้อแขนยาว บางคนสวมหมวก ใช้ผ้าโพกศีรษะ คนแก่มัก มีผ้าห้อยไหล่
2.2. ผู้หญิง นุ่งโสร่งปาเต๊ะสีสดมีลวดลายดอกดวงงาม สวมเสื้อคอยูแขนยาวถึงข้อมือ ปล่อยชายเสื้อไว้นอกโสร่ง บางคนจะมีผ้าบาง ๆ คลุมศีรษะ คลุมไหล่
3. ชุดประจำชาติไทยของผู้หญิง คือ ชุดไทยจักรีเป็นชุดไทยแบบหนึ่งของชุดไทยพระราชนิยม ชุดไทยจักรีประกอบด้วยเสื้อตัวที่ไม่มีแขน ไม่มีคอ ห่มสไบปักดิ้นทองทิ้งชายยาวด้านหลังพอสมควร นุ่งผ้ายกมีเชิงหรือยกทั้งตัว มีจีบยกข้างหน้าและชายพก คาดเข็มขัดไทย ส่วนผู้ชายสวมเสื้อพระราชทาน เป็นเสื้อคอตั้ง มีสาบอก กระดุมกลมแบนผ้าสีเดียวกับตัวเสื้อ นุ่งกางเกงขายาว
4. ไทย
4.1. ศาสนา
4.2. วัฒนธรรม
4.2.1. ชาวมุสลิมเป็นประชากรขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ในประเทศไทย ในบริเวณสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
4.2.1.1. ศิลปกรรมไทยเป็นศิลปะที่มีความประณีตสวยงาม แสดงออกถึงความเป็นไทยที่มีความอ่อนโยน และสร้างสรรค์สืบต่อกันมาตั้งแต่อดีต จนได้ศิลปะประจำชาติที่มีลักษณะและรูปแบบเฉพาะ ส่วนใหญ่จะบอกเล่าเรื่องราว สิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่แบบไทยตั้งแต่ครั้งเก่าก่อน สะท้อนให้เห็นความเชื่อทางพระพุทธศาสนา สวยงามอ่อนช้อย และมีเรื่องราวกึ่งลึกกลับมหัศจรรย์
4.2.1.2. ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศไทยเป็นพุทธศาสนิกชนนิกายเถรวาท
4.2.2. ประเพณีไทยได้รับอิทธิพลจากความเชื่อ ความผูกพันของผู้คนกับพุทะศาสนา และการดำรงชีวิตที่ขึ้นอยู่กับฤดูกาลและธรรมชาติ
4.3. ในสมัยโบราณ บ้านเรือนของคนไทยมีลักษณะเป็นบ้านไม้ชั้นเดียว ใต้ถุนสูง มีหลังคาแหลมสูงชัน มีนอกชาน รูปทรงมีระเบียบ ไม่ซับซ้อน และนิยมสร้างบ้านริมแม่น้ำลำคลอง
4.4. การแต่งกาย
5. มาเลเซีย
5.1. ชาวมาเลเซียสามารถนับถือและประกอบพิธีทางศาสนาได้อย่างอิสระ ด้วยเหตุนี้ มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางจิตวิญญาณ ทุกศาสนาอยู่ร่วมกันอย่างสันติ หากคุณไปเยือนมาเลเซีย บ่อยครั้งคุณจะเห็นสุเหร่า โบสถ์คริสต์ วัดพุทธ และวัดฮินดู ตั้งเรียงรายกันอยู่บนถนนเส้นเดียวกัน ในขณะที่สมาชิกในครอบครัวใหญ่ของมาเลเซียอาจนับถือศาสนาที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นอิสลามหรือคริสต์
5.1.1. ชาวมาเลเซียส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิม
5.2. ศาสนา
6. "ผู้หญิง" นุ่งกางเกงแพรยาว สวมเสื้อแขนยาว คอตั้งสูง ตัวเสื้อยาวลงมาจรดข้อเท้า ผ่า 2 ข้าง สูงแค่เอว สวมรองเท้าเกียะส้นสูง พ่นสีต่าง ๆ รองเท้าสตรีส้นรองด้วยพื้น ยาง คาดหลังด้วยหนังหรือพลาสติกสีต่าง ๆ
7. ผู้หญิง นุ่ง Patoi (มีลักษณะคล้ายผ้านุ่งของไทย) นิยมทำเป็นลายทาง ๆ เชิงผ้าเป็น สีแดงแก่ หรือน้ำตาลเข้ม ถ้าผ้านุ่งเป็นไหม เชิงก็จะเป็นไหมด้วย มักจะทอทองและเงินแทรกเข้าไป ไว้ผมเกล้ามวยประดับดอกไม้
8. ศาสนา
9. สิ่งก่อสร้างรูปทรงและศิลป์การตกแต่งของคนเวียดนามยังคงมี รูปลักษณ์ของจีนอยู่มากแต่บางพื้นที่ก็มีศิลป์ของฝรั่งเศส หรือ ญี่ปุ่น อยู่อย่างกลมกลืน
10. เวียดนาม
10.1. ศาสนา
10.2. วัฒนธรรม
10.2.1. ประชากรเวียดนามส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ นับถือศาสนาคริสต์ ประมาณ 7 เปอร์เซ็นต์ และที่เหนือนับถือศาสนาอื่นๆ อีก 3 เปอร์เซ็นต์
10.2.2. ภาษาของเวียดนามในช่วงแรกใช้อักษรจีนมาตลอดจนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๓ จึงเปลี่ยนมาใช้ อักษรโรมัน
10.3. การแต่งกาย
10.3.1. "ชาย" แต่งกายคล้ายหญิง บางครั้งสวมเสื้อกุยเฮง สวมหมวกสีดำเย็บด้วยผ้า ไม่มีปีก ปัจจุบันแต่งสากลกันมากแล้ว
11. ลาว
11.1. การแต่งกาย
11.1.1. ผู้ชาย นุ่ง Patoi เป็นการนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อชิ้น นอก กระดุมเจ็ดเม็ด
11.1.1.1. ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท แต่ก็ยังมีศาสนาอื่นอยู่
11.2. วัฒนธรรม
11.3. ในด้านดนตรี ลาวมีแคนเป็นเครื่องดนตรีประจำชาติ มีหมอขับ หมอลำ
11.3.1. มีความคล้ายคลึงกับคนภาคอิสานของไทยเป็นอย่างมาก ยังมีคำกล่าวที่ว่า “ มีลาวอยู่แห่งใด มีมัดหมี่ แลลายจกอยู่ที่นั้น ”