คีตกวี203

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
คีตกวี203 by Mind Map: คีตกวี203

1. พระประดิษฐ์ไพเราะ

1.1. ประวัติ

1.1.1. นามเดิม คือ มี ดุริยางกูร

1.1.2. คนทั่วไปเรียกว่า ครุมีแขก เพราะ เมื่อคลอดใหม่ๆมีสิ่งขาวคล้าย หมวกแขก

1.1.3. เกิดในตอนปลายรัชกาลที่ 1 มีชีวิตอยู่ช่วงรัชกาลที่ 3-5

1.1.4. ได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็นหลวงประดิษฐ์ไพเราะเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2396

1.1.5. ในวันที่ 21 ธันวาคม 2396 ได้บรรเลงเพลงเชิดจีนถวายแด่ พระปิ่นเกล้าฯ จึงได้เลื่อนเป็น พระประดิษฐ์ไพเราะ

2. ครูเจริญใจ สุทรวาทิน

2.1. ประวัติโดยย่อ

2.1.1. เกิดเมื่อวันที่ 16 ก.ย.2458

2.1.2. เป็นศิลปิน และนักวิชาการไทยด้านศิลปะในพระราชสำนัก

2.1.3. มีความสามารถด้านการละคร

2.1.4. ชำนาญการบันเลงดนดรีไทยประเภทวงเครื่องสายและวงมโหรี

2.1.5. มีความเชี่ยวชาญในการขับร้องเพลงประกอบการแสดงนาฏกรรม

2.1.6. ได้รับการขนานนามจากนักดนตรีไทยว่าเป็น “เพชรประดับมงกุฎแห่งคีตศิลป์ไทย”

2.2. ผลงาน

2.2.1. ผลงานทางดนตรีไทย

2.2.1.1. การขับร้องเพลง

2.2.1.1.1. 1.สาวสุดสวย เถา

2.2.1.1.2. 2.จินตหราวาตี เถา

2.2.1.1.3. 3.พญาสี่ เถา

2.3. บทบาททางสังคม

2.3.1. เป็นกรรมการสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาในคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2.3.2. ได้รับเชิญให้เป็นกรรมการตัดสินวงดนตรีไทย และ การขับร้องเพลงไทยในหลายวาระ

2.4. เหตุการณ์ทางดนตรีในยุคของคีตกวีที่ศึกษา

2.4.1. พ.ศ.2528 สำนักงานวัฒนธรรมแก่งชาติเริ่มต้นประกาศศิลปินแห่งชาติ คือ นายมนตรี ตราโมท

2.4.2. การสอนดนตรีไทยได้รับการส่งเสริมมากขึ้น โดยให้มีการเรียนการสอน และการก่อตั้งชุมนุมดนตรีไทย

3. พระเสนาะดุริยางค์

3.1. ประวัติ

3.1.1. เป็นบุตรคนโตของครูช้อย และนางไผ่ ได้รับการฝึกฝนวิชาดนตรีจากครูช้อย ผู้เป็นบิดา จนมีความแตกฉาน

3.1.2. เจ้าพระยาเทเวศน์วงวิวัฒน์(ม.ร.ว.หลาน กุญชร)ได้ขอตัวมาเป็นนักดนตรีในวงปี่พาทย์ของท่าน เข้ารับราชการเมื่อ พ.ศ.๒๔๒๒

3.1.3. ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น”ขุนเสนาะดุริยางค์”

3.1.4. เจ้ากรมพิณพาทย์หลวงโปรดให้เลื่อนเป็น”หลวงเสนาะดุริยางค์”

3.1.5. สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าโปรดให้เลื่อนเป็น “พระเสนาะดุริยางค์” รับราชการในกรมมหรสพหลวง และได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา ด้วยความซื่อสัตย์และมีความจงรักภักดี

3.1.6. ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับมอบหมายให้ควบคุมวงพิณพาทย์ของเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี(ม.ร.ว.ปุ้ม มาลากุล) เสนาบดีกระทรวงวัง

3.1.7. ท่านสมรสกับคุณหญิงเรือน เสนาะดุริยางค์ มีบุตรธิดา๔คน ถึงแก่อนิจกรรมในปี พ.ศ.๒๔๙๒ อายุได้๘๓ปี

3.2. ผลงาน

3.2.1. สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

3.2.1.1. ได้รับมอบหมายให้ควบคุมวงพิณพาทย์ของเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี(ม.ร.ว.ปุ้ม มาลากุล) เสนาบดีกระทรวงวัง วงพิณพาทย์นี้นับได้ว่าเป็นการรวบรวมผู้มีฝีมือ

3.2.1.2. ครั้นเมื่อพระนางสุวัทนาพระวรราชเทวีใกล้จะครบวันประสูติกาล พระบาทสมเด็จมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์เนื้อเพลงปลาทองเตรียมไว้สมโภชพระราชทานสมเด็จพระเจ้าลูกเธอจึงโปรดให้พระยาเสนาะดุริยางค์ ฝึกวงมโหรีหญิงซึ่งมีนางกำนัลเป็นนักดนตรีไว้บรรเลงถวายเมื่อมีการประสูติ

3.2.2. สมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

3.2.2.1. ฝึกซ้อมวงมโหรีหญิงที่ตำหนักพระวิมารดาเธอ กรมพระสุทธาสินีนาฏ วังสุนันทาลัย บรรเลงเพลงถวายทุกวันพุธ

3.2.2.2. ได้รับเชิญเป็นครูของบ้านปี่พาทย์สำคัญ๒ตระกูล คือ ตระกูลดุริยพันธุ์และตระกูลดุริยประณีตมาเป็นเวลาช้านานท่านนายหน่วงและนายเหนี่ยว ดุริยพันธุ์ เข้ารับราชการในวงปี่พาทย์หลวง

3.3. บทบาททางสังคม

3.3.1. เป็นผู้ควบคุมวงปี่พาทย์ของเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี

3.3.2. เป็นครูผู้ใหญ่ที่เป็นที่รู้จักและนับถือ

3.4. เหตุการณ์สำคัญทางดนตรีไทยที่เกิดขึ้น

3.4.1. มีการปรับปรุงวงปี่พาทย์ขึ้น คือ วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ และ วงปี่พาทย์มอญ

3.4.2. มีการนำเครื่องดนตรีของต่างชาติเข้ามาเล่นในวงเครื่องสาย จนพัฒนาไปเป็น “วงเครื่องสายผสม

4. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

4.1. ประวัติ

4.1.1. เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

4.1.2. ทรงเริ่งเรียนดนตรีจากครูถึก ดุริยางกูร

4.1.3. เรียนเพลงหน้าพาทย์และเพลงเรื่องต่างๆจาก พระประดิษฐ์ไพเราะ(ตาด)

4.1.4. ทรงรับราชการในตำแหน่งสำคัญมาตลอด

4.1.5. ทรงอุทิศเวลาให้แก่การสร้างสรรค์งานช่างหลากสาขา

4.1.6. ทรงได้รับการยกย่องจากยูเนสโก

4.2. บทบาทสถานะทางสังคม

4.2.1. ได้รับการยกย่องให้เป็นสมเด็จพลูของเหล่าช่างศิลปะ

4.2.2. นายช่างใหญ่ของกรุงสยาม

4.2.3. ทรงเป็นต้นราชสกุลจิตรพงศ์

4.3. ผลงานสำคัญ

4.3.1. เพลงสรรเสริญพระบารมี(คำร้อง)

4.3.2. เพลงเขมรไทรโยค

4.3.3. เพลงตับ

4.3.3.1. ตับแม่ศรีทรงเครื่อง

4.3.3.2. ตับเรื่องขอมดำดิน

4.3.4. เพลงมหาชัย ทำนองแบบฝรั่ง

4.3.5. การจัดแสดงละครดึกดำบรรพ์

4.3.6. การนิพนธ์และจัดลำนำเพลงประกอบภาพนิ่ง

4.4. เหตุการณ์สำคัญ

4.4.1. เกิดวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์

4.4.2. มีการพัฒนา Sound Effect ลงในบทเพลงไทย

4.4.3. มีการร้องเพลงประสานเสียงแบบฝรั่ง

4.4.4. เกิดเพลงใหม่และฟื้นฟูเพลงเก่า

5. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

5.1. พระราชประวัติ

5.1.1. พระนาม

5.1.1.1. พระบรมนามาภิไธย

5.1.1.1.1. ประชาธิปกศักดิเดชน์

5.1.1.2. พระปรมาภิไธย

5.1.1.2.1. เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา

5.1.1.3. พระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏ

5.1.1.3.1. New Topic

5.1.2. ราชวงศ์

5.1.2.1. จักรี

5.1.3. ครองราชย์

5.1.3.1. วันที่เสด็จสู่ราชสมบัติ

5.1.3.1.1. 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468

5.1.3.2. วันที่สละราชสมบัติ

5.1.3.2.1. 2 มีนาคม พ.ศ. 2477

5.1.3.3. จำนวนปีที่อยู่ในราชสมบัติ

5.1.3.3.1. 9 ปี

5.1.4. พระราชสมภพ

5.1.4.1. วันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 นาฬิกา หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 พระนคร ประเทศสยาม

5.1.4.2. พระองค์เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 76 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

5.1.5. พระราชบิดา

5.1.5.1. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระปิยมหาราช)

5.1.6. พระราชมารดา

5.1.6.1. สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง

5.1.7. พระราชินีในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

5.1.7.1. สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

5.1.8. สวรรคต

5.1.8.1. 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 มณฑลเซอร์รีย์ สหราชอาณาจักร

5.1.8.2. พระชนมายุขัย

5.1.8.2.1. 48 พรรษา

5.2. บทบาทสถานะทางการเมืองและสังคม

5.2.1. พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรสยาม

5.2.2. พระมหากษัตริย์ไทยภายใต้ประชาธิปไตยพระองค์แรก

5.3. วัดประจำรัชกาล

5.3.1. วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม (โดยอนุโลม)

5.4. เหตุการณ์สำคัญ

5.5. พระราชกรณีกิจ

5.5.1. ด้านการทำนุบำรุงบ้านเมือง

5.6. ผลงาน

5.6.1. เพลงเถา

5.6.1.1. เพลงราตรีประดับดาว

5.6.1.1.1. พระราชนิพนธ์เมิ่อปี พ.ศ. ๒๔๗๒ ที่พระราชวังไกลกังวล หัวหิน

5.6.1.2. เพลงเขมรละออองค์

5.6.1.2.1. ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อปี ๒๔๗๓

5.6.2. เพลง 3 ชั้น

5.6.2.1. เพลงคลื่นกระทบฝั่ง

5.6.2.1.1. ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อปี ๒๔๗๔ ที่พระองค์ทรงเสด็จทางชลมารคประพาสสัตหีบ

5.6.3. ทรงตั้งวงเครื่องสายส่วนพระองค์ขึ้น โดยพระองค์ทรงซอด้วง และพระบรมราชินีทรงซออู้ พร้อมทั้งเจ้านายอีกหลายพระองค์

6. New Topic

7. มนตรี ตราโมท

7.1. ประวัติ

7.1.1. เดิมชื่อ บุญธรรม ทุ้ม

7.1.2. เกิดที่บ้านท่าพี่เลี้ยง อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี

7.1.3. เป็นบุตรของนายยิ้มและนางทองอยู่

7.1.4. สมรสกับนางลิ้นจี่ มีบุตร2คน

7.1.4.1. นายฤทธี

7.1.4.2. นายศิลปี

7.1.5. สมรสครั้งที่สองกับนางพูนทรัพย์ มีบุตร2คน

7.1.5.1. นางสาวดนตรี

7.1.5.2. นายญาณี

7.2. บทบาท สถานะทางสังคม

7.2.1. มัธยมศึกษาตอนต้น

7.2.1.1. ตีฆ้องเล็กหรือทุ่มเหล็กให้แก่วงปี่พาทย์ ที่วัดสุวรรณภูมิ

7.2.2. มัธยมศึกษาตอนปลาย

7.2.2.1. เรียนปี้พาทย์กับ ครู สมบุญ

7.2.2.2. ได้เป็นนักดนตรีประจำวงปี่พาทย์

7.2.2.3. ครู สมบุญ สมสุวรรณ สอนเล่น

7.2.2.3.1. ด้านปี่พาทย์

7.2.2.3.2. ด้านแตรวง

7.2.3. ปี พ.ศ.2460

7.2.3.1. สมัครรับราชการในกรมพิณพาทย์หลวง

7.2.3.2. ทำงานด้วยและเรียนที่โรงเรียนพรานหลวง

7.2.4. ปี พ.ศ.2467

7.2.4.1. เข้าบรรเลงขิมถวายแด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงประชวนหนัก

7.2.4.2. เป็นผู้ที่ตีขิมในวังหลวงเป็นคนแรก

7.3. ผลงาน

7.3.1. เพลงสามชั้น

7.3.1.1. เพลงต้อยตริ่ง

7.3.1.2. เพลงเทพไสยาสน์

7.3.1.3. เพลงจระเข้หางยาว ทางสักวา

7.3.1.4. เพลงเทพพนม

7.3.1.5. เพลงเหาะ

7.3.1.6. เพลงขับนก

7.3.1.7. เพลงเขมรปี่แก้ว ทางสักวา

7.3.2. เพลงเถา

7.3.2.1. เพลงพม่าเห่ เถา

7.3.2.2. เพลงกาเรียนทอง เถา

7.3.2.3. เพลงขอมเงิน เถา

7.3.2.4. เพลงแขกกุลิต เถา

7.3.2.5. เพลงแขกต่อยหม้อ เถา

7.3.2.6. เพลงโสมส่องแสง เถา

7.3.2.7. เพลงขอมทรงเครื่อง เถา

7.3.3. เพลงสองชั้นและชั้นเดียว

7.3.3.1. เพลงแขกมอญ ชั้นเดียว

7.3.3.2. เพลงใบ้คลั่ง ชั้นเดียว

7.3.3.3. เพลงจีนแส ชั้นเดียว

7.3.3.4. เพลงนางครวญ สองชั้นและชั้นเดียว

7.3.3.5. เพลงสุดสงวน ชั้นเดียว

7.3.3.6. เพลงสารถี ชั้นเดียว

7.3.3.7. เพลงแขกลพบุรี สองชั้นและชั้นเดียว

7.3.3.8. เพลงสาลิกาเขมร ชั้นเดียว

7.3.4. เพลงโหมโรง

7.3.4.1. โหมโรงขับไม้บัณเฑาะว์

7.3.4.2. โหมโรงเอื้องคำ

7.3.4.3. โหมโรงรัตนโกสินทร์

7.3.4.4. โหมโรงราโค

7.3.4.5. โหมโรงเทิด ส.ธ.

7.3.4.6. โหมโรงมหาฤกษ์

7.3.4.7. โหมโรงมหาราช

7.3.5. เพลงเดี่ยว

7.3.5.1. เดี่ยวจะเข้ เพลงจีนแส

7.3.5.2. เดี่ยวจะเข้ เพลฃเรื่องตวงพระธาตุ

7.3.5.3. เดี่ยวจะเข้ เพลงแขกมอญ

7.3.5.4. เดี่ยวระนาดทุ้ม เพลงอาเฮีย

7.3.5.5. เดี่ยวฆ้องเล็ก เพลงเชิดนอก

7.3.5.6. เดี่ยวฆ้องเล็ก เพลงกราวใน

7.3.5.7. เดี่ยวขิม เพลงลาวแพน

7.4. แต่งเพลงประกวดทั้งบทร้องและทำนองเพลงได้รับรางวัลที่1ชื่อว่า "เพลงวันชาติ 24 มิถุนา"

7.5. เหตุการณ์ทางดนตรี

7.5.1. พ.ศ.2463

7.5.1.1. เพลง 3 ชั้น

7.5.1.2. เพลงเถา

7.5.1.3. เพลงประวัติศาสตร์

7.5.1.4. เพลงระบำ

7.5.1.5. เพลงเบ็ดเตล็ด

7.5.2. พ.ศ.2483

8. สมเด็จพระเทพฯพระรัตนราชสุดา

8.1. บทบาท สถานะทางสังคม

8.2. ประวัติ

8.2.1. พระราชสมภพ วันเสาร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ.2498 เป็นพระเจ้าลูกเธอพระองค์ที่3 ใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯและพระนางเจ้าสิริกิติ์

8.2.2. ถวายพระนามโดยสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ซึ่งแปลว่า "นางแก้ว" มีความหมายคือ หญิงผู้ประเสริฐ

8.3. ผลงาน

8.4. เหตุการณ์ทางดนตรี

9. หลวงประดิษฐ์ไพเราะ

9.1. ประวัติ

9.1.1. มีนามเดิมว่า สอน หรือศร

9.1.2. เกิดวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2424

9.1.3. บุตรของนายสิน และนางยิ้ม บิดาท่านเป็นเจ้าของวงปี่พาทย์ และเป็นศิษย์ของพระประดิษฐ์ไพเราะ

9.1.4. ขณะอายุ 19 ปี ได้แสดงฝีมือเดี่ยวระนาดเอกถวายสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุ์วงศ์วรเดช

9.1.5. ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ.2497 รวมอายุ 73 ปี

9.1.6. เกิดวันที่ 17 มิ.ย. พ.ศ. 2443

10. ครูบุญยงค์ เกตุคง

10.1. ประวัติ

10.1.1. วันเกิด

10.1.1.1. วันอังคาร เดือน 4 ปีวอก ตรงกับเดือนมีนาคม พ.ศ. 2463

10.1.1.2. ตำบลวันสิงห์ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร

10.1.2. การศึกษา

10.1.2.1. ได้รับการศึกษาชั้นต้นที่วัดช่องลม

10.1.2.2. เริ่มหัดเรียนดนตรีไทยกับครูละม้าย

10.1.2.2.1. ที่บ้านข้างวัดหัวแหลม จังหวัดสมุทรสาคร

10.1.3. ครอบครัว

10.1.3.1. เป็นบุตรชายคนใหญ่ของนายเที่ยงและนางเขียน เกตุคง

10.1.3.2. บิดามารดามีอาชีพเป็นนักแสดง

10.1.4. ถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. 2539 สิริรวมอายุได้ 76 ปี

10.2. ผลงานสำคัญ

10.2.1. เพลงโหมโรง

10.2.1.1. โหมโรงสามสถาบัน

10.2.1.2. โหมโรงสามจีน

10.2.1.3. โหมโรงจุฬามณี

10.2.2. เพลงเถา

10.2.2.1. เงี้ยวรำลึกเถา

10.2.2.2. ทยอยเถา

10.2.2.3. ชเวดากองเถา

10.2.2.4. เริงเพลงเถา

10.2.2.5. กัลยาเยี่ยมห้อง

10.2.3. เพลงประกอบการแสดง

10.2.3.1. ตระนาฏราช

10.2.3.2. เพลงระบำต่างๆที่ประกอบในละคร

10.2.4. เพลงเดี่ยวทาง

10.2.4.1. ทางเดี่ยวระนาดเอกสามราง

10.2.4.2. เพลงอาหนู

10.2.4.3. เพลงอาเฮีย

10.3. บทบาทและสถานะทางสังคม

10.3.1. การเป็นนักดนตรี

10.3.1.1. นักดนตรีประจำวงกรมประชาสัมพันธ์

10.3.1.2. นักดนตรีประจำอยู่ที่ สถานีโทรทัศน์ช่อง 4 บางขุนพรหม

10.3.1.3. นักดนตรีประจำวงดนตรีไทยของ สำนักงานกรุงเทพมหานคร

10.3.1.4. เป็นหัวหน้าวงดนตรีไทยกรุงเทพมหานคร

10.3.2. การเป็นลูกศิษย์

10.3.2.1. ครูละม้าย

10.3.2.2. ครูหรั่ง พุ่มทองสุข

10.3.2.3. นายประสิทธิ์ เกตุคง

10.3.2.4. ครูเพชร จรรย์นาฎย์

10.3.3. อาชีพ

10.3.3.1. ข้าราชการกรุงเทพมหานคร

10.3.3.2. นักดนตรี

10.3.3.3. แจวเรือจ้าง อยู่ระยะหนึ่ง

10.3.4. ผลงาน

10.3.4.1. ได้ถูกยกย่องให้เป็นคีตกวี ซึ่งมีสมญานามว่า ระนาดเทวดา

10.3.4.2. ได้รับรางวัลศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ดนตรีไทย พ.ศ. 2531

10.3.5. ก่อตั้งวง ฟองน้ำ

10.4. เหตุการณ์สำคัญ

10.4.1. การทลายกรอบของจังหวะที่ใช้ลูกตกเป็นจังหวะหนักหรือจังหวะที่ถูกเน้น ให้เกิดการเล่นแบบเน้นที่จังหวะยกแทน

10.4.1.1. นำเทคนิคมาประพันธ์ดนตรีที่สำคัญๆ

10.4.1.1.1. ชิ้นที่โด่งดังคือ ชเวดากอง

10.4.2. กำเนิดวงฟองน้ำ

10.4.2.1. วงดนตรีที่ผสมผสานดนตรีไทยและดนตรีตะวันตก

10.4.2.2. ผู้ก่อตั้ง

10.4.2.2.1. บุญยงค์ เกตุคง

10.4.2.2.2. บรูซ แกสตัน 

10.4.3. การบรรเลงวงปี่พาทย์ไม้แข็งเพลง โหมโรงจุฬามณี

10.4.4. การบรรเลงวงปี่พาทย์ไม้นวมเพลงเงี้ยวรำลึก 

10.4.5. การเดี่ยวระนาดเอกเพลงจีนขิมใหญ่ 2 ชั้น หรือการบรรเลงวงเครื่องสายไทยเพลงชเวดากอง

11. New Topic