Prospects for ID and Teacher Education

Plan your lessons and the goals of your lessons as well as including important content

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Prospects for ID and Teacher Education by Mind Map: Prospects for ID and Teacher Education

1. Rerearch of teacher thinking and planning

1.1. instructional planning ด้วยการ objective-first lesson planning มีการใช้ในโรงเรียนอย่างแพร่หลาย

1.2. ก่อนที่จะมี Model การสอน gagne (1960) โรงเรียนได้รับ mastery-based learning โดย medeline hunter ซึ่งไม่ได้รับความนิยม

2. process-product research foundation for classroom studies

2.1. ช่วง 1970 เน้นการศึกษากระบวนการสอนของครูที่ส่งผลต่อผลลัพธ์ คือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน

2.2. งานวิจัยศึกษาโฟกัสที่ตัวครู

2.2.1. สังเกตการสอน

2.2.2. ตัวแปรที่เกี่ยวกับครู

2.2.2.1. อายุ

2.2.2.2. เพศ

2.2.2.3. ประสบกาณ์สอน

2.2.2.4. ลักษณะนิสัย

2.2.2.5. ภูมหลัง

2.3. ไม่ได้สนใจตัวนักเรียนมากนัก เพราะสนใจที่ัตัวจัดกระทำคือ ครูมากกว่า

2.4. จากการศึกษา ครูไม่ได้เน้นการประเมินผล และการวางแผนการสอน โดยคำนึงถึงวัตถุประสงค์

3. The interpretive and Cognitive Shift in Research

3.1. พยายามศึกษากระบวนการคิดตามกรอบจิตวิทยา มากกว่าสังเกตครู เพื่อสังเสริม และหาข้อจำกัด

3.1.1. กลยุทธ์การสอน

3.1.2. การวางแผน

3.2. เปลี่ยนจาก correlative or experimental to qualitative

3.3. ผลการศึกษาการวางแผน และการลงมือปฏิบัติ พบว่า

3.3.1. ครูไม่ค่อยปฏิบัติตามแผนที่วางไว้

3.3.2. วัตถุประสงค์เกิดขึ้นจากความต้องการของผู้เรียนและกิจกรรม

3.4. มีการประยกต์ใช้ Cognitive ในการพัฒนาโมเดลการติดของครู

4. Objective

4.1. รวมรวมบทความวิจัย และงานวิชาการเกี่ยวกับ Instruction Design Technology (EDT) ที่ทำมาแล้วในอดีต และบอกแนวโน้มในอนาคตเกี่ยวกับ ID และวิชาชีพครู

5. recent approoach

5.1. ศึกษากระบวนการคิด ถึงปัจจุบัน

5.1.1. Gill and Hoffman

5.2. Cognitive to Contructivist

5.2.1. เน้นประสบการณ์ที่ผู้เรียนไ้ดรับ ในมุมมองของผู้เรียน

5.3. Mixed Method ในการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน โดยครูไม่ได้เป็นปัจจัยเดียวที่ส่งผลต่อผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน

6. Novice Vs Expert Planning

6.1. มาจากแนวคิดของ Contructivist

6.1.1. situated learning

6.1.2. cognitive apprenticeship

6.1.3. communities of inquiry

7. What about instructional design for teacher

7.1. มีการใช้ ID มาแก้ปัญหาการสอนซึ่งมีประเด็นในการพิจารณา. เช่น เป้าหมายต่างกัน, กลยุทธ์, ทรัพยากร, ระดับชั้นของผู้เรียนที่ต่างกัน

7.2. 1990 ได้มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ ID

7.2.1. ตรวจสอบความต่างระหว่างแผนการสอนระยะยาว และแผนการสอนรายวัน

7.2.1.1. การเขียนแผนระยะยาวจะช่วยให้ยึดตามวัตถุประสงค์เป็นหลัก

7.2.2. การเขียนแผนการสอน vs วางแผนในใจ

7.3. Earle ได้ศึกษาการนำ ID ไปใช้

7.3.1. ID model ที่มีอยู่แล้วไม่เหมาะสมกับวิธีการทำงานของครู ครูส่วนใหญ่ประยุกตใช้ ID แต่ไม่ได้ใช้ classic ID Model

7.3.2. ID สามารถสอนให้นักศึกษาครูได้ประสบความสำเร็จ แต่ไม่เพียงพอ สามารถเพิ่มความการรับรู้ความสำคัญในการวางแผนการสอนได้

7.4. ในต่างไทเปมีการการนำ ID model ไปใช้ พบว่า ครู 223 คนมี 69 คนเคยเรียน ID กล่าวว่า มีเวลาไม่เพียงพอในการใช้ ID อย่างเป็นทางการ แต่มีการอธิบายที่สะท้อนความเข้าใจ องค์ประกอบของ ID

7.4.1. สอดคล้องกับ Rose and Tingley (2008) ที่สัมภาษณ์ครูชาวแคนาดา 6 คน พบว่า ครูเกี่ยวกับความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดของ ID และวางแผนการสอนตามวัตถุประสงค์ที่ถูกชี้นำจากหลักสูตร และคู่มือครู

8. Design and technology in the classroom

8.1. 1981 Clark and angert ได้กล่าวว่า ครูเป็นผู้ใช้เทคโนโลยี และสร้างสื่อการเรียนการสอน ผ่านกระบวนการออกแบบการสอนอย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพของสื่อ เพื่อใช้ในการสอน

8.2. 1990 มีการศึกษา และมุ่งเน้นเกี่ยวกับบูรณาการ technology ในการออกแบบการเรียนการสอน ในระดับ k12

8.3. ได้มีส่งเสริมรูปแบบของครูในฐานะผู้ออกแบบสื่อการเรียนการสอนในโปรแกรมวิชาชีพครู และในระดับมหาวิทยาลัย

8.4. งานวิจัยต่อมาศึกษาการออกแบบการสอนอย่างเป็นระบบ ที่ได้ประยุกต์ใช้ในการสร้างสื่อการสอนของนักศึกษาครู และ ผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา

8.5. ผู้วิจัยก็มีการเน้นการประเมินผลกระทบของกับพัฒนาศักยภาพของครูจากการ ใช้ ID ในการออกแบบการสอน และพัฒนาสื่อ พบว่า มีการวางแผนการสอนที่มีประสิทธิภาพ และ เกิด outcome ที่ดีกับผู้เรียนตามมา

9. conclusion

9.1. ค้นหาการสร้างทฤษฎีการเรียนรู้