1. ภาคเหนือ
1.1. ประเพณี
1.1.1. ประเพณียี่เป็ง ประเพณี "ยี่เป็ง" เป็นประเพณีลอยกระทงตามประเพณีล้านนา ประเพณีลอยโคม มีความเชื่อในการปล่อย โคมลอยซึ่งเป็นการปล่อยเคราะห์ปล่อยโศกให้พ้นจากตัว
1.2. อาหาร
1.2.1. อาหารภาคเหนือ ส่วนใหญ่รสชาติไม่จัด ไม่นิยมใส่น้ำตาลในอาหารความหวานจะได้จากส่วนผสมของอาหารนั้นๆ คนเหนือมีน้ำพริกรับประทานหลายชนิด อาทิ น้ำพริกหนุ่ม น้ำพริกอ่อง ส่วนอาหารที่รู้จักกันดีได้แก่ ขนมจีนน้ำเงี้ยว ที่มีเครื่องปรุงสำคัญ ขาดไม่ได้คือ ดอกงิ้ว
1.3. ภาษา
1.3.1. ภาษา ถิ่นที่ใช้ในภาคเหนือตอนบน หรือภาษาในอาณาจักรล้านนาเดิม มักจะพูดกันมากใน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา น่าน ลำพูน ลำปาง ตาก และ แพร่ และยังมีการพูดและการผสมภาษากันในอุตรดิตถ์ สุโขทัย พิษณุโลก และเพชรบูรณ์อีกด้วย
1.4. สถานที่ท่องเที่ยว
1.4.1. 1. อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ 2. ดอยอ่างขาง 3. เขาค้อ – อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว
2. ภาคกลาง
2.1. ประเพณี
2.1.1. -ประเพณีสงกรานต์ -ประเพณีทอดกฐิน -ประเพณีถือศีลกินเจ -ประเพณีการทอดผ้าป่า -ประเพณีแห่ธงตะขาบ -ประเพณีตักบาตรน้ำผึ้ง -ประเพณีบุญข้าวหลาม -ประเพณีวิ่งควาย -ประเพณีสู่ขวัญข้าว
2.2. อาหาร
2.2.1. -แกงเขียวหวานลูกชิ้นปลากราย -แกงส้มดอกแค -ต้มกะทิสายบัว -ต้มโคล้งปลาช่อน -เต้าเจี้ยวหลน -เมี่ยงคำ -สะเดา-น้ำปลาหวาน-ปลาดุกย่าง
2.3. ภาษา
2.3.1. ภาษาภาคกลางที่สำคัญ คือ ภาษากรุงเทพฯ ซึ่งเป็นภาษาราชการ และเป็นภาษาประจำชาติ การแบ่งภาษาถิ่นเป็นการแบ่งอย่างคร่าวๆ ๑ ภาษามาตรฐานมีความหมายกว้างกว่าภาษาถิ่น ๒ ภาษาถิ่นมีความหมายกว้างกว่าภาษามาตรฐาน
2.4. สถานที่ท่องเที่ยว
2.4.1. กรุงเทพมหานคร -สยามสแควร์ -ตลาดนัดสวนจตุจักร จังหวัดชัยนาท -สวนนกชัยนาท -พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติชัยนาทมุนี จังหวัดสระบุรี -รอยพระพุทธบาท -เขื่อนป่าสักชลสิทธ์ จังหวัดอยุธยา -ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร -วัด และพระราชวังต่างๆ
3. ภาคอีสาน
3.1. ประเพณี
3.1.1. 1.บุญกฐิน 2.กลอนพญา 3.การแต่งงานกินดอง 4.การบวช 5.ฮีตสิบสอง คลองสิบสี่ 6.พิธีศพ
3.2. ภาษา
3.2.1. ภาษาอีสาน ภาษาลาวเวียงจันทน์ ใช้ที่ จ.ชัยภูมิ หนองบัวลำภู หนองคาย ขอนแก่น ยโสธร อุดรธานี ภาษาลาวเหนือ ที่ จ.เลย อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ พิษณุโลก หนองคาย อุดรธานี ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ในประเทศไทยท้องที่จ.อุดรธานี จ.สกลนคร หนองคาย ภาษาลาวกลาง คือ ภาษาลาวกลาง จังหวัดที่พูดในประเทศไทย เช่น จ.นครพนม สกลนคร หนองคาย จ.มุกดาหาร ภาษาลาวใต้ จ.อุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร ภาษาลาวตะวันตก ที่ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ มหาสารคาม และบริเวณใกล้เคียงมลฑลร้อยเอ็ด
3.3. อาหาร
3.3.1. ลาบ น้ำตก พล่า ส้มตำ แกงอ่อม ซุปหน่อไม้ กุ้งเต้น
3.4. สถานที่ท่องเที่ยว
3.4.1. 1.สุดยอดขุนเขาแห่งการท่องเที่ยว...ภูกระดึง 2. สุดยอดภูผาและผืนป่าอนุรักษ์ 3. สุดยอดสายน้ำฉ่ำเย็น แม่น้ำโขง ชี มูน 4.สุดยอดความงามทุ่งดอกไม้ป่า 5. สุดยอดอีสานก่อนประวัติศาสตร์ 6. สุดยอดอลังการแห่งปราสาทหิน 7. สุดยอดพระบรมธาตุงวดงามดังนิรมิต 8. สุดยอดชาวเผ่าอีสาน สีสันของผู้คนและวัฒนธรรมประเพณี
4. ภาตใต้
4.1. ประเพณี
4.1.1. -งานเสด็จพระแข่งเรือ -ประเพณีชิงเปรต -ประเพณีสารทเดือนสิบ -แห่นางดาน
4.2. อาหาร
4.2.1. -ผัดสะตอใส่กะปิ -แกงไตปลา -แกงเหลือง -ข้าวยำ
4.3. ภาษา
4.3.1. - ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออก คือ ออกเสียงตัวสะกด ก.ไก่ ได้ชัดเจน - ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันตกคือ ออกเสียงตัวสะกด ก.ไก่ ไม่ได้ - ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงสงขลา - ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงเจ๊ะเห
4.4. สถานที่ท่องเที่ยว
4.4.1. ทะเลต่างๆ เช่น เกาะพีพี เกาะเต่า ทะเลแหวก และเกาะหรือหาดอื่นๆ เป็นต้น