แผนการสอนวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 3 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เ...

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
แผนการสอนวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 3 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ by Mind Map: แผนการสอนวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 3 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ

1. เนื้อหาการป้องกัน VAP

1.1. การใช้อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย

1.1.1. การจัดท่านอน

1.1.1.1. จัดให ้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง 30 - 45 องศา

1.1.1.2. พลิกตะแคงตัวผู้ป่วยอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง

1.1.2. การใสท่อหลอดลมคอ

1.1.2.1. เสื้อคลุม

1.1.2.2. แว่นป้องกันตา

1.1.2.3. ผ้าปิดปาก-จมูก

1.1.2.4. ถุงมือปราศจากเชื้อ

1.1.3. การดดเสมหะ

1.1.3.1. ถุงมือปราศจากเชื้อ

1.1.3.2. ผาป้ดปาก -จมกู และ แวนตา

1.1.4. oral care

1.1.4.1. ถุงมือสะอาด

1.1.4.2. ผ้าปิดปาก-จมูก

1.2. การทำความสะอาดมือ

1.2.1. hygienic hand washing

1.3. การดูแลผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจ

1.3.1. ตรวจดู cuff pressure ทุก 8 ชั่วโมง ให้มีความดัน 25-30 เซนติเมตรน้ำ

1.3.2. ระวังไม่ให้ท่อช่วยหายใจเลื่อนหลุด

1.3.3. ดูดเสมหะ ดูดลมออกจาก cuff pressure ก่อนถอดท่อช่วยหายใจ

1.4. การดูแลแผลเจาะคอ

1.4.1. hygienic hand washing

1.4.2. สวมอุปกรณ์ป้องกันร่างกายอย่างถูกต้อง

1.4.3. aseptic technique

1.4.4. การดูแลแผลเจาะคอ

1.4.4.1. ทำความสะอาดแผลอย่างน้อยวันละ 3 ครั้ง หรือเมื่อสกปรก

1.4.4.2. ทำความสะอาดท่อชั้นในของท่อช่วยหายใจทุก 8 ชั่วโมง

1.4.4.3. ดูดเสมหะก่อนถอดท่อชั้นในของท่อช่วยหายใจ

1.5. การดูดเสมหะ

1.5.1. พิจารณาดูดเสมหะ

1.5.1.1. ก่อนพลิกตัวผู้ป่วย

1.5.1.2. ก่อนให้อาหารทางสายยาง

1.5.1.3. ก่อนดูดลมออกจาก cuff

1.5.2. ดูดเสมหะในช่องปากก่อนดูดในท่อช่วยหายใจ

1.5.3. hygienic hand washing

1.5.3.1. ก่อน

1.5.3.2. หลัง

1.5.4. ทำความสะอาดข้อต่อเครื่องช่วยหายใจด้วยแอลกอฮอล์ 70 %

1.5.5. ประเมินเสียงหายใจผู้ป่วย

1.6. การดูแลทำความสะอาดช่องปาก

1.6.1. ประเมินความผิดปกติในช่องปาก

1.6.2. hygienic hand washing

1.6.3. ทำความสะอาดอย่างน้อยวันละ 3 ครั้ง

1.6.4. ทำความสะอาดด้วย 2% chlorhexidine solution

1.7. การให้อาหารทางสายยาง

1.7.1. จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศา

1.7.2. normal hand hygiene

1.7.2.1. ก่อน

1.7.2.2. หลัง

1.7.3. ดูดเสมหะก่อนให้อาหารทางสายยาง

1.7.4. ทดสอบ gastric content

1.7.4.1. มากกว่า 200 ml . ให้งดมื้อนั้น

1.7.5. ปล่อยอาหารเหลวช้า ๆ

1.7.6. นอนศีรษะสูง 1 ชม.หลังให้อาหาร

1.7.7. หลีกเลืี่ยงการดูดเสมหะภายหลังให้อาหาร 1 ชม

1.7.8. ปิดปลายสายให้อาหารทุกครั้งเมื่อเสร็จ

1.8. การป้องกันเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้น

1.8.1. H2 receptor blockers

1.8.2. antacids

1.8.3. sucralfate

1.9. การหย่าเครื่องช่วยหายใจ

1.9.1. ใส่เครื่องช่วยหายใจ >24 ชั่วโมง

1.9.2. หาสาเหตุ respiratory failure

1.9.2.1. PaO2/FiO2 ≥ 150-200

1.9.2.2. PEEP ้ ≤ 5-8 cm

1.9.2.3. H2O;FiO2 ≤ 0.4-0.5

1.9.2.4. pH ≥ 7.25

1.9.3. ไม่มีปัญหาในระบบการไหลเวียนโลหิต

1.9.4. สามารถเริ่มหายใจได้เอง

1.9.5. การประเมนความพร้อมถอดเครื่องช่วยหายใจออก

1.9.6. ทดสอบ spontaneous breathing' นาน 30-120 นาที

1.9.7. หาสาเหตุ และแก้ไขสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถถอด เครื่องช่วยหายใจออกได้

1.9.8. สร้าง weaning/discontinuation protocols

1.10. การดูแลอุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจขณะใช้กับผู้ป่วย

1.10.1. ล้างมือทุกครั้งก่อนและหลังสัมผัสเครื่องช่วยหายใจ

1.10.2. ไม่ควรเปลี่ยน ventilator circuits บ่อยกว่า 7 วัน

1.10.3. ไม่ใช้มีสิ่งตกค้างใน ventilator circuits

1.10.4. ใช้น้ำปราศจากเชื้อใน humidifier

2. แจ้งวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม

2.1. บอกความหมาย VAP ได้ถูกต้อง

2.2. บอกสาเหตุ VAP

2.3. บอกวิธีการป้องกัน VAP

3. ขั้นสอน

3.1. กิจกรรมผู้สอน

3.1.1. วีดีโอ

3.1.2. สอบถามความคิดเห็นผู้เรียน

3.2. กิจกรรมผู้เรียน

3.2.1. มีส่วนร่วมในการตอบคำถามในชั้นเรียน

3.2.2. สอบเก็บคะแนน

3.2.3. มีส่วนร่วมในการทำงานกลุ่มตามที่มอบหมาย

3.3. วิธีการประเมิน

3.3.1. สอบกลางภาค/ปลายภาค

3.3.2. สังเกตการตอบคำถามจากการถามตอบในชั้นเรียน

3.3.3. สังเกตจากการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3.3.4. ผลงานที่ส่ง

3.4. เกณฑ์การประเมิน

3.4.1. คะแนนสอบมากกว่าร้อยละ 60

3.4.2. ตอบคำถามถูกต้อง 3 ใน 5 คน

3.4.3. ส่งงานที่มอบหมายครบทุกครั้ง

3.5. ผลการประเมิน

4. ขั้นนำ

4.1. นำเข้าสู่บทเรียน

4.1.1. วีดีโอ