1. ความหมาย
1.1. มีการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสัมพันธระหว่าง สิ่งมีชีวิตด้วยกันเอง หรือระหว่างสื่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
1.2. การอยู่ร่วมกันในพื้นที่ของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต มีความสัมพันธ์กัน
1.3. ระบบนิเวศ = สิ่งมีชีวิต/ไม่มีชีวิต + พื้นที่ + การถ่ายทอดพลังงาน / หมุนเวียนสาร
2. ประเภทของระบบนิเวศ
2.1. ตามความสมดุล
2.1.1. ที่สมดุล
2.1.1.1. สามารถควบคุมตัวมันเองได้ เป็นระบบนิเวศธรรมชาติ (ระบบนิเวศน้ำ)
2.1.2. ไม่สมดุล
2.1.2.1. ไม่สามารถอยู่ได้ด้วยตนเอง มักเป็นระบบนิเวศที่มนุษย์สร้าง (สวนสัตว์ ตู้ปลา)
2.2. ตามการเกิด
2.2.1. ธรรมชาติและใกล้ธรรมชาติ
2.2.1.1. แหล่งน้ำ (จืด / เค็ม / กร่อย )
2.2.1.2. บก (กึ่งบก / บกแท้ )
2.2.1.3. คุณสมบัติ 3 ประการ
2.2.1.3.1. ระบบธรรมชาติ = สสาร พลังงาน (Big bang) + ความหลากหลายทางชีวภาพ + เสถียรภาพ (ควบคุมตัวเอง)
2.2.2. เมือง-อุตสาหกรรม
2.2.2.1. น้ำมัน เชื้องเพลิง
2.2.3. เกษตร
2.2.3.1. สวนผลไม้
3. องค์ประกอบของระบบนิเวศ
3.1. 2 องค์ประกอบ
3.1.1. 1. สิ่งไม่มีชีวิต
3.1.1.1. บรรยากาศ / ดิน / น้ำ / หิน / อุณหภูมิ
3.1.2. 2. สิ่งมีชีวิต
3.1.2.1. ผู้ผลิต
3.1.2.1.1. หาอาหารได้ด้วยตนเอง (สังเคราะห์แสง)
3.1.2.2. ผู้บริโภค
3.1.2.2.1. พืช / สัตว์ / ทั้งพืชและสัตว์ / ซากเหลือ
3.1.2.3. ผู้ย่อยสลาย
3.1.2.3.1. ปล่อยน้ำย่อยออกจากตัว แล้วของตรงนั้นจะเน่า แล้วกินทางผิวหนัง (เห็ด / รา / ยีสต์ / แบคทีเรีย)
4. สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
4.1. 1.สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
4.1.1. มีประโยชน์
4.1.2. แก่งแย่งกัน
4.2. 2.สิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน
4.2.1. 2.1 ต้องพึงพากัน ( + , + ) ร่วมกันอยู่ แยกตาย 2.2 ได้ประโยชน์ร่วมกัน (+,+) แยกกันอยู่ได้
4.2.2. 2.3 เกื้อกูล อิงอาศัยกัน (+,0) ได้ประโยชน์ฝ่านนึง อีกฝ่ายไม่ได้ไม่เสีย
4.2.3. 2.4 ปรสิต (+,-) ได้ประโยช์นอีกฝ่ายเสียประโยชน์แต่ไม่ตายจ้า 2.5 ล่าเหยื่อ (+,-) ได้ประโยชน์อีกฝ่ายเสียประโยชน์และตาย
4.2.4. 2.6 แก่งแย่ง (-,-) เสียทั้งสอง
4.2.5. 2.7 เป็นกลาง (0,0) ไม่ได้ไม่เสียทั้งสองฝ่าย เช่น ปลากับกระต่าย
4.2.6. 2.8 ต่อต้านการเจริญ (0,-) ไม่ได้ไม่เสียแต่อีกฝ่ายเสียประโยชน์
5. การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของกลุ่มสิ่งมีชีวิต
5.1. มี 2 ลักษณะ
5.1.1. 1. แบบปฐมภูมิ
5.1.1.1. เริ่มจากบริเวณที่ไม่มีสิ่งมีชีวิตอยู๋ก่อนเลย
5.1.1.2. ไม่มีสิ่งมีชีวิต ------------------> สิ่งมีชีวิตขั้นสุดยอด เกิดสิ่งมีชีวิตใหม่ (สิ่งมีชีวิตแรกเริ่ม)
5.1.2. 2.แบบทุติยภูมิ
5.1.2.1. สิ่งมีชีวิตขั้นสุดยอดแล้วถูกทำลาย
5.1.2.2. สิ่งมีชีวิตขั้นสุดยอด ------------------> ( ) --------------------> สิ่งมีชีวิตขั้นสุดยอด (เดิม) ถูกทำลาย เกิดสิ่งใหม่ (ใหม่)
6. หน้าที่ระบบนิเวศ
6.1. 1. ถ่ายทอดพลังงาน (จุดตั้งต้นและจุดจบต้องเป็นสิ่งมีชีวิตเสมอ)
6.1.1. สายใย (food web) กินกันไปมายุ่งเหยิง
6.1.2. ห่วงโซ่ (food chain) กินกันเป็นทอด ๆ มี 4 แบบ
6.1.2.1. จับกิน ( พืช -> สัตว์เล็ก -> สัตว์ใหญ่ )
6.1.2.2. ปรสิต (สัตว์ใหญ่ -> ปรสิต)
6.1.2.3. เศษอินทรีย (ของเน่า -> สัตว์)
6.1.2.4. แบบผสม (รวม ๆ กัน )
6.1.2.5. พีระมิดนิเวศ 3 แบบ
6.1.2.5.1. 1. จำนวน (ต้น/ตัว)
6.1.2.5.2. 2.ชีวภาพ (กิโลกรัม)
6.1.2.5.3. 3. พลังงาน (แคลลอรี่ / จูล)
6.2. 2. การหมุนเวียนสาร
6.2.1. 2.1 วัฏจักรน้ำ
6.2.2. 2.2 วัฏจักรไนโตเจน
6.2.2.1. ดึงลงจากชั้นบรรยากาศ (ฟ้าแลบฟ้าผ่า/ แบททีเรีย / ระเบิดภูเขาไฟ (เกิด))
6.2.3. 2.3 วัฏจักรคาร์บอน
6.2.3.1. ต้นไม้ดูดลงมา -> สังเคราะห์แสง กิน ถ่าย ->คาร์บอนปล่อยขึ้น เผ้าไหม้เกิดคาร์บอน
6.2.4. 2.4 วัฏจักรฟอสฟอรัส
6.2.4.1. ไม่ต้องผ่านชั้นบรรยากาศ ย่อยสลาย (ตาย/ขับถ่าย) -> พืชเอาไปใช้
6.2.5. 2.5 วัฏจักรกำมะถัน
6.2.5.1. เผาไหม้ปล่อยขึ้นบรรยากาศ ฝนกรดดึงลงมา