Gum acacia

Plan your projects and define important tasks and actions

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Gum acacia by Mind Map: Gum acacia

1. การนำไปใช้ประโยชน์

1.1. ผลิตยาเคลือบน้ำตาล

1.2. ผลิตยาอมแก้เจ็บคอ

1.3. ผลิตยาน้ำแขวนตะกอน

1.4. ผลิตยาน้ำแขวนละออง

1.5. ผลิตลูกอม ลูกกวาด

1.5.1. ช่วยป้องกันการตกผลึกของน้ำตาล

1.5.2. ทำหน้าที่เป็นอิมัลซิไฟเออร์

1.5.2.1. ทำให้ส่วนที่เป็นไขมันและของเหลว กระจายตัวอยู่อย่างสม่ำเสมอ

1.5.2.2. ป้องกันการเคลื่อนของไขมันที่ออกมาบริเวณผิวหน้าของลูกอม

1.6. ผลิตเบียร์

1.6.1. ให้ความคงตัวของฟองเบียร์นุ่มและละเอียด

1.6.2. ไม่มีผลต่อความใส รสชาติ และอายุการเก็บรักษา

1.7. ผลิตน้ำผลไม้

1.7.1. ทำให้เกิดความขุ่นคล้ายกับว่ามีเนื้อผลไม้มากขึ้น

1.8. ผลิตเบเกอรี

1.8.1. เป็นอิมัลซิไฟเออร์

1.8.1.1. ทำให้ไขมันและส่วนผสมอื่นๆ ผสมกันได้ดียิ่งขึ้น

1.8.1.2. ทำให้เนื้อเรียบเนียนและลดการเกิดฟองอากาศ

1.8.2. ช่วยกักเก็บน้ำในผลิตภัณฑ์ได้ดี

1.8.3. ยืดอายุการเก็บรักษา

1.9. ผลิตภัณฑ์สารให้กลิ่น

1.9.1. เช่น ในผงวนิลลา

1.9.1.1. กัมอะราบิกทำหน้าที่ลดแรงตึงผิว

1.9.1.2. ช่วยกักเก็บสารให้กลิ่นรสไว้ภายในได้ดี

1.9.1.3. ลดการระเหยและการสลายตัวของสารให้กลิ่น

1.10. ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ

1.10.1. ให้ไขมันต่ำ พลังงานต่ำและให้ใยอาหารสูง

1.10.2. ใช้ทดแทนไขมันในสูตรอาหารที่มีไขมันต่ำ

1.10.2.1. เนย

1.10.2.2. น้ำสลัด

1.10.2.3. ไอศกรีม

2. ข้อมูลทั่วไปของ Gum acacia

2.1. อาจเรียกว่า กัมอะคาเซีย หรือ กัมอะราบิก

2.2. เป็นคาร์โบไฮเดรตประเภท พอลิแซ็กคาไรด์

2.3. ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ได้จากการก้อนยางมาบดให้เป็นผงละเอียด

2.4. ลักษณะ

2.4.1. เมื่อถูกความร้อนจากแสงแดด จะแห้งแข็งตัว

2.4.2. ตัวยางใสคล้ายแก้ว

2.4.3. มีสีขาวใสจนถึงสีเหลืองอำพัน

2.4.4. ทรงหยกน้ำ หรือทรงกลม

3. ที่มาของ Gum acacia

3.1. เป็นยางได้จากต้นไม้สกุล อคาเซีย (acacia)

3.2. ไหลออกมาจากต้นไม้ เมื่อต้นมีบาดแผล

4. คุณสมบัติ Gum acacia

4.1. ทางชีววิทยาและพิษวิทยา

4.1.1. ไม่เป็นพิษต่อร่างกาย

4.1.2. ผ่านการรับรองระบบมาตรฐานของอาหารโลก

4.1.3. เป็นสารที่ไม่ให้พลังงาน

4.2. การละลาย

4.2.1. ละลายได้ดีในน้ำทั้งอุณหภูมิปกติ น้ำร้อน หรือ น้ำเย็น

4.2.2. ละลายได้ดีที่ความเข้มข้นสูงถึง ร้อยละ 50

4.3. ความหนืด

4.3.1. ความหนืดต่ำเมื่อวัดที่ความเข้มข้นร้อยละ 10

4.3.2. ความหนืดสูงเมื่อที่ความเข้มข้นร้อยละ 40 จนมีลักษณะคล้ายเจล

4.4. คุณสมบัติการเป็นตัวอิมัลซิฟายเออร์

4.4.1. มีประสิทธิภาพสูงในการ โดยเฉพาะเป็นอิมัลชั่นประเภทน้ำมันในน้ำ

4.4.1.1. โครงสร้างที่มีส่วนที่เป็นกรดอะมิโน

4.4.1.2. ดูดซับจับอยู่บนพื้นผิวของหยดน้ำได้อย่างดี

4.4.2. เป็นคุณสมบัติที่เหมาะสมในการผลิตอิมัลชั่นของน้ำมันกลิ่นเพื่อใช้ในการแต่งกลิ่น