การเงิน การคลัง

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การเงิน การคลัง by Mind Map: การเงิน การคลัง

1. การเงินและสถาบันทางการเงิน

1.1. การเงิน

1.1.1. ความหมายของเงิน

1.1.1.1. เงินคือสิ่งที่ทุกคนยอมรับให้เป็นสื่อกลาง

1.1.1.1.1. ในการแลกเปลี่ยน

1.1.1.1.2. ใช้วัดมูลค่า

1.1.2. หน้าที่ของเงิน

1.1.2.1. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

1.1.2.2. มาตราในการเทียบค่า

1.1.2.3. มาตรฐานในการขำระหนี้ภายหน้า

1.1.2.4. เครื่องรักษามูลค่า

1.1.3. ปริมาณเงิน

1.1.3.1. อุปทานของเงิน

1.1.3.1.1. เงินฝากกระแสรายวัน

1.1.3.1.2. เงินฝากออมทรัพย์

1.1.3.1.3. เงินฝากประจำของปชช.

1.1.3.2. องค์ประกอบ

1.1.3.2.1. ธนบัตร

1.1.3.2.2. เหรียญกษาปณ์

1.1.3.2.3. เงินฝากกระแสรายวัน

1.1.3.2.4. เงินฝากออมทรัพย์

1.2. สถาบันการเงินแห่งประเทศไทย

1.2.1. เป็นธนาคาร

1.2.1.1. ธนาคารกลาง (ของรัฐ)

1.2.1.1.1. ควบคุมปริมาณเงินของปท.ให้เหมาะ

1.2.1.1.2. ไม่แสวงหาผลกำไร

1.2.1.1.3. ไม่แข่งขันกับสถาบันการเงินเอกชน

1.2.1.2. ธนาพาณิชย์

1.2.1.2.1. มีบทบาทมากสุด

1.2.1.2.2. รับฝาก

1.2.1.2.3. กู้ยืมเงินหรือสินเชื่อ

1.2.1.2.4. EX.

1.2.1.3. ธนาคารที่มีวัตุประสงค์พิเศษ

1.2.1.3.1. ธนาคารออมสิน

1.2.1.3.2. ธ.ก.ส.

1.2.1.3.3. ธนาคารอาคารสงเคราะห์

1.2.1.3.4. ธสน.

1.2.1.3.5. ธพว.

1.2.1.3.6. ธนาคารอิสลามแห้งปทท.

1.2.2. ไม่ใช่ธนาคาร

1.2.2.1. บรืษัทเงินทุนหลักทรัพย์จำกัด

1.2.2.2. บรรษัทเงินทุนอุตแห่งปทท

1.2.2.3. บรรษัทเงินทุนอุตขนาดย่อม

1.2.2.4. บริษัทเครดิตฟองซิเอร์

1.2.2.5. บริษัทประกันชีวิต

1.2.2.6. สหกรณ์ออมทรัพย์

1.2.2.7. โรงรับจำนำ

2. การคลัง (รัฐ)

2.1. งบประมาณแผ่นดิน

2.1.1. แผนเกี่ยวกับรายได้-จ่ายของรัฐ

2.1.2. 3 ประเภท

2.1.2.1. สมดุล

2.1.2.1.1. ได้=จ่าย

2.1.2.2. ขาดดุล

2.1.2.2.1. ได้<จ่าย

2.1.2.3. เกินดุล

2.1.2.3.1. ได้>จ่าย

2.2. การจัดการเรื่องรายได้และรายจ่ายของรัฐบาล

2.2.1. รายได้ของรัฐบาล

2.2.1.1. จากภาษีอากร

2.2.1.1.1. สำคัญ เยอะ

2.2.1.1.2. แบ่งตามหลักผลักภาระ

2.2.1.1.3. ตามหลักของฐานภาษี

2.2.1.1.4. อัตราภาษี

2.2.1.1.5. หน่วยงานที่จัดเก็บ

2.2.1.2. จากการขายสิ่งของและบริการ

2.2.1.2.1. ขาย เช่าของราชการ

2.2.1.3. จากรัฐพาณิชย์

2.2.1.3.1. กำไร เงินปันผลขอองค์การรัฐหรือหน่วยธุรกิจที่รัฐหุ้นด้วย

2.2.1.4. อื่นๆ

2.2.1.4.1. ค่าปรับ

2.2.1.4.2. ค่าธรรมเนียม

2.2.1.4.3. ใบอนุญาติ

2.2.1.4.4. อากรแสตมป์

2.2.2. รายรับของรัฐบาล

2.2.2.1. รายได้สุทธิ4+เงิน2

2.2.2.1.1. เงินกู้

2.2.2.1.2. เงินคงคลัง

2.2.3. รายจ่ายรัฐบาล

2.2.3.1. รายจ่ายจากเงินงบประมาณ

2.2.3.1.1. ฝ่ายนิติบัญญัติอนุมัติให้ฝ่ายบริหารนำไปใช้ในกิจกรรมต่างๆ

2.2.3.2. รายจ่ายเงินนอมงบประมาณ

2.2.3.2.1. รายจ่ายจากเงินกู้

2.2.3.2.2. เงินช่วยเหลือ

2.2.3.2.3. เงินบำรุงการศึกษา

2.3. การบริหารหนี้สาธารณะ

2.4. นโยบายการคลัง

2.4.1. แบบหด

2.4.1.1. ลดเฟ้อ

2.4.1.2. ลดงบจ่าย

2.4.1.3. เพิ่มภาษี

2.4.2. แบบขยาย

2.4.2.1. เพิ่มงบจ่าย

2.4.2.2. ลดษี

3. นโยบายการเงินแลการคลังในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ

3.1. นโยบายการเงิน

3.1.1. แบบเข้มงวด

3.1.1.1. ตลาดเงินคล่องเกินไป

3.1.1.2. แก้ได้โดย

3.1.1.2.1. เปิดให้มีการขายหลักทรัพย์

3.1.1.2.2. เพิ่มอัตราสำรองตามกฎหมาย

3.1.1.2.3. เพิ่มอัตรารับซื้อช่วงลด

3.1.2. แบบขยายตัว

3.1.2.1. ขาดสภาพคล่อง

3.1.2.2. แก้ได้โดย

3.1.2.2.1. ซื้อหลักทรัพย์โดยเปิดเผย

3.1.2.2.2. ลดอัตสำตามกฎ

3.1.2.2.3. ลดอัตรับซื้อช่วงลด

3.2. ภาวะเงินเฟ้อ

3.2.1. ของแพง อำนาจซื้อลด

3.2.2. 3 ระดับ

3.2.2.1. อ่อน

3.2.2.1.1. สูงไม่เกิน 5%

3.2.2.1.2. ผลดี กระตุ้นผู้ผลิต

3.2.2.2. ปานกลาง

3.2.2.2.1. 5-20%

3.2.2.2.2. เดือดร้อน

3.2.2.2.3. ค่าครองชีพสูง รายได้ไม่เพิ่มตาม

3.2.2.3. รุนแรง

3.2.2.3.1. มากกว่า 20%

3.2.2.3.2. เฉียบพลัน

3.2.2.3.3. ช่วงสงคราม การจลาจล เกิดภัยพิบัติ

3.2.3. สาเหตุ

3.2.3.1. ราคาถูกกำหนดจากอุปสงค์

3.2.3.1.1. 2 ประการ

3.2.4. ผลกระทบ

3.2.4.1. ค่าครองชีพสูง

3.2.4.2. 'ต้องการถือเงิน' ของแพงใช้เงินที่มีซื้อได้น้อยลง ต้องรีบหาเงิน จนเลิกถือเงิน ไปถือ ทอง

3.2.4.3. ระดับการผลิตและการลงทุนของปท.

3.2.4.4. ผลต่อดุลการค้า ดุลการชำระเงิน

3.2.4.4.1. ขายไม่ออกเพราะของแพง  เลยนำเข้าเยอะขึ้น

3.2.4.5. ระดับการออมของปท.

3.2.4.5.1. การออมลดลง

3.2.4.6. ฐานะของเจ้าหนี้ ลูกหนี้

3.2.4.6.1. เจ้าหนี้เสียเปรียบ ค่าเงินมันลด

3.2.5. นโยบายแก้ไงเงินเฟ้อ

3.2.5.1. แบบเข้มงวด

3.2.6. มาตรการการคลังแก้ไขเงินเฟ้อ

3.2.6.1. ลดการใช้จ่ายของรัฐ

3.2.6.2. เพิ่มภาษีอากร

3.3. ภาะวะเงินฝืด

3.3.1. 3 ระดับ

3.3.1.1. อ่อนๆ

3.3.1.1.1. ผลดี กระตุ้นให้จ่ายโดยปชช

3.3.1.2. กลาง

3.3.1.2.1. ผู้ผลิตลดการผลิต

3.3.1.3. รุงแรง

3.3.1.3.1. เกิดภาวะฝืดเคือง

3.3.2. สาเหตุ

3.3.2.1. ธนาคารกลางผลิตเงินมาน้อยไป คนไม่พอใช้

3.3.2.2. ธก. กำหนดนโย.เข้มงวด

3.3.2.3. ชะลอการปลอยสินเชื่อ

3.3.2.4. ประเทศขาดดุลนานจัด

3.3.2.5. รัฐลดงบรายจ่าย เงินในเศรษ.ลดลง

3.3.3. ผลกระทบ

3.3.3.1. ชะลอการลงทุน ผลิตน้อยลง

3.3.3.2. ว่างงาน

3.3.3.3. เศรษฐกิจตกต่ำ

3.3.3.4. ต้องกราถือเงินน้อยลง เพราะเงินที่มีซื้อได้เยอะอยู่ละ ของถูกอ่ะนะ

3.3.4. นโยบายแก้ไขปห. = ผ่อนคลาย

3.3.5. มาตรการการคลังเพื่อแก้ไขภาวะเงินฝืด

3.3.5.1. เพิ่มการใช้จ่ายของภาครัฐ

3.3.5.2. ลดอัตราภาษอากร

3.4. ปัญหาการว่างงาน

3.4.1. แก้ได้โดย

3.4.1.1. เพิ่มการใช้จ่ายของรัฐ

3.4.1.2. เพิ่มการลงทุน

3.4.1.3. ลดภาษี

3.4.1.3.1. ปรับลดภาษีการค้า-ขาย

3.4.1.3.2. ลดภาษีเงินได้นิติบุค

3.4.1.3.3. ลดภาษเงินได้บุคธรรม

3.5. ปัญหาการกระจายรายได้ไม่เท่าเทียมกัน

3.5.1. มาตรการด้านรายจ่าย

3.5.1.1. รัฐจ่ายให้คนจนผ่านโครงการ

3.5.1.2. แบบให้เปล่า

3.5.1.2.1. ช่วยคนงว่างงาน

3.5.2. มาตรการด้านรายได้

3.5.2.1. รายได้จากภาษีอากร

3.5.2.2. ไม่ใช่ภษอากร

3.5.2.3. แก้ไขโดย

3.5.2.3.1. จัดเก็บภาษีในระบบอัตราก้าวหน้า

3.5.2.3.2. จัดเก็บภาษีมรดกและทรัพย์สิน