1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
1.1. ด้านเศรษฐกิจ
1.1.1. 3 ปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 เริ่มแสดงให้เห็นถึงข้อจ ากัดในการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ
1.1.2. การปรับโครงสร้างการผลิตสู่ประเทศรายได้ปานกลางขั้นสูง แต่ความสามารถใน การแข่งขันเริ่มลดลง
1.1.3. ผลิตภาพการผลิตของปัจจัยการผลิตรวม (TFP) ยังคงอยู่ในระดับต่ าท าให้ ขาดพลังในการขับเคลื่อนการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้หลุดพ้นจากการเป็นประเทศรายได้ปานกลาง
1.1.4. การลดลงของความแข็งแกร่งด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจจะเป็นอุปสรรค ต่อการแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้าง การรองรับเงื่อนไขในระบบเศรษฐกิจโลก และการด าเนินนโยบายและ การบริหารจัดการเศรษฐกิจในอนาคต
1.1.5. อันดับความสามารถในการแข่งขันโดยรวมยังปรับตัวดีขึ้นไม่มากนัก
1.1.6. สถานการณ์ด้านโครงสร้างพื้นฐานยังคงมีปัญหาในหลายๆ ด้าน
1.2. ด้านสังคม
1.2.1. โครงสร้างประชากรเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัย แต่ยังคงมีปัญหาทั้งใน เชิงปริมาณและคุณภาพของประชากรในทุกช่วงวัย
1.2.2. ครัวเรือนไทยโดยเฉลี่ยมีขนาดลดลงและรูปแบบของครอบครัวเปลี่ยนแปลง มีหลากหลายรูปแบบมากขึ้น
1.2.3. คนไทยยังมีปัญหาเชิงคุณภาพทั้งด้านสุขภาพ การเรียนรู้ และคุณธรรมจริยธรรม
1.2.4. สถานการณ์ความยากจนมีแนวโน้มลดลง แต่ยังคงมีความเหลื่อมล้ าของการ กระจายรายได
1.2.5. ความเหลื่อมล้ าระหว่างกลุ่มคนยังคงเป็นปัญหาส าคัญของสังคมไทย
1.2.6. คนไทยมีความมั่นคงทางสังคมมากขึ้น
1.3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1.3.1. ทรัพยากรธรรมชาติส่วนใหญ่ถูกน าไปใช้ในการพัฒนาจ านวนมาก ก่อให้เกิด ความเสื่อมโทรมอย่างต่อเนื่องและเกิดปัญหาความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น
1.3.2. ปัญหาสิ่งแวดล้อมเพิ่มสูงขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจและชุมชนเมือง
1.3.3. ภัยพิบัติทางธรรมชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งอุทกภัยเกิดขึ้นบ่อยครั้งและมีความ รุนแรงมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อภาคการผลิตและวิถีการด ารงชีวิตของคนไทย
1.4. ด้านการบริหารจัดการและการปรับปรุงประสิทธิภาพกลไกการพัฒนา
1.4.1. ด้านธรรมาภิบาล
1.4.1.1. ประเทศไทยจะต้องให้ความส าคัญกับเรื่องธรรมาภิบาล†อย่างเร่งด่วน
1.4.1.2. ภาคเอกชนมีการประเมินหลักบรรษัทภิบาล ตั้งแต่ปี 2544
1.4.2. ด้านการบริหารจัดการภาครัฐและการกระจายอ านาจ
1.4.2.1. การบริหารจัดการภาครัฐมีการปรับปรุงตามยุคสมัย
1.4.2.2. การกระจายอ านาจเกิดผลส าเร็จหลายด้านแต่ยังมีปัญหาที่ต้องแก้ไข
1.4.3. ด้านการทุจริตคอร์รัปชั่น
1.4.3.1. ไทยก าลังประสบปัญหาการทุจริตเชิงนโยบายและผลประโยชน์ทับซ้อนเป็นอย่าง มาก
2. โครงการในพระราชดำริด้านต่างๆ
2.1. โครงการฝนหลวง
2.1.1. ช่วยบรรเทาความทุกข์ยากของพสกนิกรในท้องถินทุรกันดาร ที่ประสบปัญหาขาดแคลนน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค และเพื่อการเกษตรกรรม อันเนื่องมาจากภาวะความแห้งแล้ง
2.2. โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่
2.2.1. เพื่อสร้างแหล่งบริการความรู้เฉพาะด้านกับเกษตรกร ส่งเสริมความรู้ด้านเทคโนโลยีการเกษตรหรือนวัตกรรมที่เหมาะสม ที่จะช่วยเพิ่มผลผลิตและสร้างแรงจูงใจในการกระตุ้นเศรษฐกิจการผลิตภาคการเกษตร
2.3. โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
2.3.1. น้ำเพื่อการเพาะปลูกและการชลประทานเนื่องจากปัญหาเรื่องปริมาณน้ำไม่เพียงพอกับความต้องการของพืช
2.4. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมง
2.4.1. การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำของไทยทำให้ประชาชนคนไทยได้เรียนรู้ และสนใจการเลี้ยงปลาขึ้นอย่างกว้างขวางทั่วประเทศ
2.5. โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.5.1. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อที่จะให้พสกนิกรชาวไทยได้เข้าถึงทางสายกลางของชีวิตและเพื่อคงไว้ซึ่งทฤษฏีของการพัฒนาที่ยั่งยืน
2.6. โครงการพระราชดำริหม่อนไหม
2.6.1. นำเทคโนโลยีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมไปปรับใช้ และพัฒนาให้เป็นอาชีพเสริมแก่ราษฎรในพื้นที่โครงการและบริเวณใกล้เคียงให้มีรายได้สูงขึ้น ลดการละย้ายถิ่นฐาน
2.7. โครงการฝึกอบรมการจัดทำบัญชีแก่เกษตรกรสำหรับผู้ทำอาชีพทอผ้าในโครงการศิลปาชีพ
2.7.1. เป็นกิจกรรมสอนแนะให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำ เพื่อให้เกิดระบบเศรษฐกิจชุมชนที่เข้มแข็งเพื่อให้เกษตรกรผู้ทำอาชีพทอผ้า รู้จักการจดบันทึกรายการรับเงินจ่ายเงินในครัวเรือน
2.8. โครงการศูนย์การศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
2.8.1. การส่งเสริมความรู้ในเรื่องการทำการเกษตรอย่างมีหลักวิชาและใช้เทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหม่
2.9. โครงการธนาคารโค-กระบือ
2.9.1. เพื่อให้การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ทั่วประเทศได้มีโค-กระบือไว้ใช้แรงงาน และเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร เป็นการช่วยให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น
2.10. โครงการศูนย์การศึกษาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
2.10.1. เพื่อทำให้ผลผลิตมีมูลค่าเพิ่มขึ้นและเป็นประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม โดยมีการจัดสร้างโรงงานผลิตภัณฑ์ยางขนาดเล็ก และโรงงานแปรรูปยางขึ้น ณ ศูนย์ศึกษาฯ แห่งนี้
2.11. โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
2.11.1. เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมการศึกษา ทดลอง วิจัย และการพัฒนาปรับปรุงพื้นที่ดินทรายจัดเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งมีรูปแบบการให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ
3. หลักเศรษฐกิจพอเพียง
3.1. คำนิยาม
3.1.1. 1.ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่น เช่นการผลติ และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
3.1.2. 2.ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ
3.1.3. 3.การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้ และไกล
3.2. เงื่อนไข
3.2.1. 1.เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
3.2.2. 2.เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต
3.3. แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ
3.3.1. จากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุล และยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยี