Logical thinking

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Logical thinking by Mind Map: Logical thinking

1. การออกแบบขั้นตอนวิธีส าหรับการแก้ปัญหา

1.1. ความหมายโดยทั่วไปของการออกแบบขั้นตอนวิธีส าหรับการแก้ปัญหา คือ “ชุดของหลักการด าเนินงานที่ ถูกล าดับไว้อย่างเป็นขั้นตอน” ซึ่งหมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ทั้งรูปแบบที่ไม่ใช่การค านวณด้วย แต่ ขั้นตอนวิธีส าหรับการแก้ปัญหาที่สามารถพบในชีวิตประจ าวันได้นั้นก็มีจ านวนมาก ทดลองนึกย้อนกลับไป ก่อนที่ จะเข้าสู่การเป็นนิสิตของมหาวิทยาลัย จะต้องสมัครสอบของส านักต่างๆ มากมาย แต่ละการสมัครสอบต่างก็มี ขั้นตอนของการสมัคร ไปถึงขั้นตอนช าระเงิน ยืนยันตนเองเพื่อเข้าห้องสอบ และรับทราบผลสอบ เห็นได้ว่าจะต้อง ท าอย่างเป็นขั้นตอน ไม่สามารถสลับล าดับของขั้นตอนได้ จากขั้นตอนการสอบ ไม่สามารถสลับขั้นตอน จากการ ช าระเงิน มากระท าก่อนขั้นตอนการกรอกข้อมูลสมัครสอบได้ตัวอย่างส าหรับผู้ที่ชื่นชอบการเล่นเกม และเติมเงิน เพื่อใช้ในการเล่นเกม จะต้องซื้อบัตรเงินสด น าหมายเลขที่ของบัตรเงินสดกรอกเพื่อยืนยันบัตรเงินสดเข้าสู่เกม ผู่ เล่นเกมไม่สามารถสลับขั้นตอนโดยการกรอกหมายเลขที่ของบัตรเงินสด ก่อนที่จะซื้อบัตรเงินสดได้ ตัวอย่างสุดท้าย ส าหรับผู้ชื่นชอบในการปรุงอาหารตามต าราอาหารต่างๆ จะเห็นได้ชัดเจนจากต าราอาหารว่า จะต้องเตรียมวัตถุดิบ ก่อน จากนั้นจึงท าการปรุง รอให้อาหารสุกเรียบร้อย จึงตักใส่ภาชนะ และรับประทานได้ โดยผู้ปรุงอาหารไม่ สามารถสลับขั้นตอนการปรุงอาหารมาด าเนินการก่อนการเตรียมวัตถุดิบได้

2. การสร้างแผนภาพความคิด

2.1. การสร้างแผนภาพความคิดเป็นการถ่ายทอดความคิดของผู้สร้างออกมาในรูปแบบที่แบ่งหมวดหมู่ของ ข้อมูลต่างๆ แล้ว เพื่อสื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้ แต่ก่อนที่จะสามารถสร้างแผนภาพความคิดออกมาได้นั้น ผู้สร้างจะต้อง รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อส าหรับสร้างแผนภาพความคิดอย่างหลากหลาย ในปริมาณที่มากพอควรและจะต้อง เข้าใจข้อมูลเหล่านั้น สามารถจัดการข้อมูลเหล่านี้ให้เป็นหมวดหมู่ได้อย่างถูกต้อง ทั้งหมวดหมู่หลักและหมวดหมู่ ย่อย ผู้สร้างอาจจะหาข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ต ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อโดยตรงสอบถาม ความคิดเห็นจากคนรอบข้าง เพื่อประกอบการตัดสินใจ หรือรวมกลุ่มเพื่อรับฟังความคิดจากสมาชิกภายในกลุ่ม ประโยชน์ของการรวมกลุ่มจะท าให้สามารถแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความคิดสร้างสรรค์จากสมาชิกภายในกลุ่ม การรวมกลุ่มอาจจะเป็นทางออกที่ดีกว่าการย้ าคิดย้ าท าอยู่กับความคิดของตนเองเพียงคนเดียว และยังท าให้ได้รับ ประสบการณ์ใหม่ๆ ความคิดใหม่ๆ จากการรับฟังความคิดเห็นของสมาชิกภายในกลุ่มอีกด้วย เมื่อแบ่งหมวดหมู่ของข้อมูลได้แล้ว ควรจะวัดประสิทธิภาพของการแบ่งหมวดหมู่ โดยอาจจะทดลองเลือก ข้อมูลจ านวนหนึ่งแล้วใส่ลงในหมวดหมู่ต่างๆ ที่แบ่งไว้ ถ้ามีข้อมูลใดข้อมูลหนึ่งไม่สามารถใส่ลงในหมวดหมู่ใดได้เลย แสดงว่าการแบ่งหมวดหมู่นั้นยังไม่มีประสิทธิภาพมากพอ ควรจะต้องแบ่งหมวดหมู่ใหม่อีกครั้ง เพื่อให้หมวดหมู่ ของข้อมูลมีความชัดเจน รองรับทุกๆ ข้อมูลที่จะเพิ่มขึ้นมาใหม่ได้ทุกๆ ข้อมูล หลังจากสามารถแบ่งหมวดหมู่ของข้อมูลทั้งหมดที่มีได้แล้ว จึงน าหมวดหมู่ของข้อมูลเหล่านั้นมาสร้าง แผนภาพความคิดเพื่อถ่ายทอดข้อมูลแบบสรุปที่ถูกจัดอย่างเป็นหมวดหมู่แล้วให้ผู้อื่นได้รับความรู้ต่อไป

3. นวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงโลก

3.1. ในบทนี ้เราจะกล่าวถึงเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและพฤติกรรมของมนุษย์ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงเหล่านี ้เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและความเป็นไปของสิ่งต่างๆบนโลกที่เทคโนโลยีเหล่านี ้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรง เพื่อให้เนื ้อความสมบูรณ์ในตัว เราจะกล่าวถึงประวัติของเทคโนโลยีที่ส าคัญตั ้งแต่สมัยมนุษย์ยุคหินจนกระทั่งถึงช่วงศตวรรษที่ เพิ่งจะผ่านมา

4. ขั้นตอนการคิดและการแก้ปัญหาเชิงตรรกะ

4.1. หมายถึง การมีเหตุผล ดังนั้นการคิดและการแก้ปัญหาอย่างมีตรรกะจึงหมายถึงการคิดและ การแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างมีเหตุ จากเว็บไซต์ gotoknow.org ได้ให้ล าดับขั้นตอนของกระบวนการคิดอย่างมี เหตุผลไว้ ดังนี้ 1. การระบุปัญหาที่แท้จริง 2. การระบุสาเหตุที่ท าให้เกิดปัญหา ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง 3. การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล 4. การประเมินสาเหตุที่เป็นไปได้มากที่สุด 5. การระบุแนวทางแก้ไข 6. ตรวจสอบและประเมินผล

4.2. ตรรกะเป็นเครื่องมือส าหรับพัฒนาการคิด การตัดสินใจ และการให้ข้อสรุปอย่างเป็นเหตุเป็นผล โดยการคิดแบบมี ตรรกะ คือการคิดหาข้อสรุปที่ปราศจากอารมณ์และความรู้สึกส่วนตัว กับชุดข้อมูลพื้นฐานที่มีอยู่และจากเว็บไซต์ gotoknow.org ได้แนะน าเทคนิคส าหรับการคิดอย่างมีเหตุผลไว้ ดังนี้ 1. การเปิดกว้าง คือการยอมรับข้อมูลใหม่ ๆ เสมอ หรือจะต้องทันเหตุการณ์ ทันสมัย ทันโลกที่เป็นปัจจุบัน 2. กล้าเปลี่ยนจุดยืน ก่อนที่จะเปลี่ยนจุดยืนได้ จะต้องมีการยอมรับเสียก่อน และเปลี่ยนแปลงความคิดของ ตนเองให้คล้อยตามกับข้อมูลใหม่ ๆ ที่ได้รับมา 3. การหาเหตุผลและการให้เหตุผล จะน าไปสู่การสรุปข้อมูล โดยสรุปจากการวิเคราะห์อย่างเป็นเหตุเป็นผล 4. มุมมอง จะต้องพิจารณาในทุก ๆ มุมมองของปัญหา ไม่ใช่เพียงแต่พิจารณาเฉพาะมุมมองของตนเท่านั้น 5. การวางตัวเป็นกลาง ต้องระวังความคิดไม่ให้ถูกชักน าให้เอนเอียงไปทางใดทางหนึ่ง 6. การตั้งค าถาม ในบางปัญหาผู้แก้ปัญหาอาจจะไม่ทราบข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมดของปัญหา ท าให้ผู้ แก้ปัญหาอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ หรืออาจจะแก้ปัญหาได้แต่ไม่ตรงตามความต้องการของปัญหา จึงควรที่ จะตั้งค าถามเพิ่มเติม หากผู้แก้ปัญหาไม่ได้เชี่ยวชาญในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปัญหานั้น ๆ

5. การวิเคราะห์ปัญหาและการแทนข้อมูล

5.1. ขั้นตอนที่ 1 เข้าใจปัญหา เพื่อแก้ปัญหาต่างๆ นั้น สิ่งที่จะต้องให้ความส าคัญคือการมีตรรกะและการคิด อย่างเป็นระบบเพื่อสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหานับว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการแก้ปัญหา ถ้าขั้นตอนเริ่มต้นอย่างการวิเคราะห์ปัญหาผิดพลาด ขั้นตอนต่อไปก็มีโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดได้สูงเช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น ชาวแบ็คแพ็คเกอร์จะชื่นชอบการเดินทางท่องเที่ยวไปตามสถานที่ต่างๆ ถ้าใช้การเดินทางโดยรถ โดยสารประจ าทาง รถโดยสารประจ าทางมีมากมายหลายเส้นทางการเดินทาง ถ้าผู้โดยสารตั้งใจจะเดินทางไป กรุงเทพมหานคร แต่ผู้โดยสารขึ้นรถผิดคัน ผิดเส้นทาง ก็ถือว่าผิดพลาดตั้งแต่ขั้นตอนแรกแล้ว ถ้าผู้โดยสารสามารถ ตั้งสติได้ทัน และหาหนทางเพื่อกลับไปยังกรุงเทพมหานครได้ก็นับว่าเป็นเรื่องที่ดี ถือว่าผลลัพธ์ไม่ผิดพลาด แต่ ระหว่างการแก้ปัญหาเพื่อที่จะกลับไปยังกรุงเทพมหานครนั้นก็อาจจะประสบกับความยุ่งยากพอสมควร

5.2. ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนในการแก้ปัญหาต่างๆ เป็นขั้นตอนหลังจากเข้าใจปัญหาแล้ว การวางแผนนั้นเป็นสิ่งที่ แน่ชัดว่าจะต้องเป็นล าดับขั้นตอน เรียงล าดับก่อนหลังอย่างชัดเจน ส่วนน้อยของการวางแผนที่จะสามารถ เปลี่ยนแปลงล าดับขั้นตอนได้ ยังคงยกตัวอย่างเดิมของชาวแบ็คแพ็กเกอร์ ที่รักในการท่องเที่ยว การวางแผนอย่าง ชัดเจนส าหรับคนรักการท่องเที่ยวคงหนีไม่พ้นการเดินทาง ทั้งขึ้นรถ ลงเรือ แถมเครื่องบินอีก การวางแผนการ

5.3. ตอนที่ 3 แก้ปัญหา ขั้นตอนนี้ก็ท าการแก้ปัญหาตามล าดับที่ได้วางแผนไว้จากขั้นตอนที่ 2 ตามล าดับ และสิ่งที่ควรท าคือ เมื่อร่างแผนมาแล้วว่าจะต้องท าอะไรล าดับไหนบ้าง เมื่อท าตามแผนแล้ว ควรจะท า เครื่องหมายที่ขั้นตอนที่ท าไปแล้วเพื่อให้ตนเองเข้าใจและจ าได้ว่าล าดับขั้นตอนใดถูกกระท าไปแล้วบ้าง ในขั้นตอน การแก้ปัญหานี้ เป็นขั้นตอนที่ได้ลงมือแก้ปัญหาจริงแล้ว ผู้แก้ปัญหาอาจจะพบวิธีที่ดีกว่าวิธีที่ได้ท าการวางแผนมาก็ ได้ ถ้าผู้แก้ปัญหาท าการแก้ปัญหาตามแผนที่วางแผนไว้แล้วแล้วพบวิธีอื่นที่ดีกว่าระหว่างทาง ผู้แก้ปัญหาอาจจะ เปลี่ยนวิธีแก้ปัญหาได้ ยกตัวอย่างการเดินทางของชาวแบ็คแพ็กเกอร์ ในขั้นตอนการวางแผน อาจจะวางแผนจาก บางแสนไปเมืองชลบุรีโดยรถโดยสารสองแถว แต่ระหว่างทางรถโดยสารสองแถวอาจจะจอดรอผู้โดยสารนานไป ผู้โดยสารอาจจะเปลี่ยนใจขึ้นรถจักรยานยนต์รับจ้างเพ่อเดินทางไปยังเมืองชลบุรีแทน

5.4. ้นตอนที่ 4 ตรวจสอบผลลัพธ์ขั้นตอนนี้อาจจะเห็นได้ชัดเจนตอนที่เรียนวิชาคณิตศาสตร์ตอนมัธยม เพราะเมื่อแก้ปัญหาโจทย์เรียบร้อยแล้วจะท าการตรวจค าตอบว่าถูกต้องหรือไม่ เช่น A*B = C การจะตรวจค าตอบ หน้า | 4 ว่า ผลลัพธ์ C ที่ได้มาถูกหรือไม่ ก็ต้องน า C/B = A หรือไม่ ถ้าไม่เท่ากันนั้นแสดงว่า ผลลัพธ์ C ที่ได้มา ไม่ถูกต้อง จะต้องท าการค านวณใหม่อีกครั้ง ขั้นตอนนี้อาจจะน าไปสู่การแก้ปัญหาอื่นๆ