การจำแนกผัก

Plan your website and create the next important tasks for get your project rolling

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การจำแนกผัก by Mind Map: การจำแนกผัก

1. จ าแนกตามฤดูปลูกที่เหมาะสม

1.1. การใช้เกณฑ์ฤดูปลูกที่เหมาะสมในการจ าแนกผักนั้นจะขึ้นอยู่กับฤดูกาลอันมีผลเกี่ยวเนื่องจาก ลักษณะทางสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศของพื้นที่นั้นๆ ส าหรับประเทศไทยนั้นอยู่ในเขต ร้อนชื้นตลอดปีมี 3 ฤดู ได้แก

1.1.1. ฤดูฝน เดือน มิถุนายน-กันยายน

1.1.2. ฤดูหนาว เดือน ตุลาคม-มกราคม

1.1.3. ฤดูร้อน เดือน กุมภาพันธ์-พฤษภาคม

1.2. โดยทั่วไปพืชผักสามารถปลูกได้ตลอดปี แต่ในปัจจุบันมีการปรับปรุงพันธุ์ผักให้สามารถปลูก ในแต่ละฤดูได้อย่างเหมาะสมสามารถจ าแนกผักที่เจริญเติบโตได้อย่างปกติในสภาพอุณหภูมิ ต่างๆ ดังนี้

1.2.1. ผักฤดูหนาว สามารถเจริญเติบโตได้ดีระหว่างอุณหภูมิ 18-28 องศาเซลเซียส ผัก กลุ่มนี้สามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตสูงในฤดูหนาว หากต้องการปลูกในฤดูร้อนและฝน ควรเลือกปลูกพันธุ์ที่ทนร้อนและฝนหรือพันธุ์เบาสามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตสูงเช่นกัน หากเลือกใช้พันธุ์ที่ไม่เหมาะสมอาจท าให้ผลผลิตต่ าหรือเสียหาย

1.2.1.1. กระหล่ าดอก

1.2.1.2. กะหล่ าปล

1.2.1.3. กระเทียม

1.2.1.4. แครอท

1.2.1.5. บล็อกโคล

1.2.1.6. ผักกาดเขียวปล

1.2.1.7. ผักกาดหัว

1.2.1.8. ผักกาดหอม

1.2.1.9. มันฝรั่ง

1.2.1.10. หอมหัวใหญ่

1.2.2. ผักฤดูร้อน สามารถเจริญเติบโตได้ดีในสภาพอุณหภูมิระหว่าง 25-35 องศา เซลเซียส การปลูกในประเทศไทยสามารถเจริญเติบโตให้ผลผลิตสูงตลอดป

1.2.2.1. กระเจี๊ยบ

1.2.2.2. ข้าวโพดหวาน

1.2.2.3. กตระกูลแตงทุกชนิด

1.2.2.4. ผักตระกูลมะเขือทั้งหมด ยกเว้น พริกยักษ์ พริกหวาน

1.2.2.5. ส าหรับผักตระกูลถั่ว ยกเว้น ถั่วลันเตา

1.2.3. ัผักฤดูฝน สามารถเจริญเติบโตได้ดีในสภาพอุณหภูมิระหว่าง 25-35 องศา เซลเซียส และทนฝน ได้แก่

1.2.3.1. ผักตระกูลแตงทั้งหมด ยกเว้น แตงเทศ

1.2.3.2. ผักตระกูลมะเขือ และถั่วฝักยาว

2. การจำแนกผักตามลักษณะทางพฤกษศาสตร

2.1. การจำแนกประเภทนี้เป็นที่นิยมใช้ในแวดวง การศึกษาการวิจัยต่างๆ และค่อนข้างจะเป็นเกณฑ์การจ าแนกที่เป็นสากลโดยอาศัยความ เกี่ยวข้องใกล้เคียงกันของผัก มีการเจริญเติบโตในสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศคล้ายคลึง กัน นอกจากนี้ผักประเภทเดียวกันมักมีระบบการเจริญเติบโตทางราก ลำต้น และใบ ระบบ การสืบพันธุ์ ได้แก่ ดอก ผล และเมล็ด ที่คล้ายคลึงกันและส่วนมากนิยมจำแนกผักตาม ลักษณะทางพฤกษศาสตร์นี้ ถึงแค่ระดับตระกูล (Family)

2.1.1. ตระกูลกะหล่ำ

2.1.1.1. กะหล่ำดาว

2.1.1.2. กะหล่ำดอก

2.1.1.3. กะหล่ำปลี

2.1.1.4. กวางตุ้ง

2.1.1.5. คะน้า

2.1.1.6. ผักกาดขาวปลี

2.1.1.7. ผักกาดเขียวปลี

2.1.1.8. ผักกาดหัว

2.1.1.9. บล็อกโคล

2.1.2. ตระกูลแตง

2.1.2.1. แตงกวา

2.1.2.2. แตงเทศ

2.1.2.3. แตงโม

2.1.2.4. ตำลึง

2.1.2.5. บวบเหลี่ยม

2.1.2.6. บวบหอม

2.1.2.7. น้ำเต้า

2.1.2.8. ฟักทอง

2.1.2.9. มะระ

2.1.3. ตระกูลถั่ว

2.1.3.1. กระถิน

2.1.3.2. แค

2.1.3.3. ชะอม

2.1.3.4. ถั่วแขก

2.1.3.5. ถั่วฝักยาว

2.1.3.6. ถั่วลันเตา

2.1.3.7. มันแกว

2.1.3.8. โสน

2.1.4. ตระกูลมะเขือ

2.1.4.1. พริก

2.1.4.2. พริกยักษ

2.1.4.3. พริกหวาน

2.1.4.4. มะเขือ

2.1.4.5. มะเขือเทศ

2.1.4.6. มะแว้ง

2.1.5. ตระกูลอื่นๆ

2.1.5.1. ข้าวโพดหวาน

2.1.5.2. ขึ้นฉ่าย

2.1.5.3. เครื่องเทศ

2.1.5.4. ผักกาดหอม

2.1.5.5. ผักช

2.1.5.6. ผักบุ้งจีน

2.1.5.7. สมุนไพร

3. การจำแนกผักตามส่วนที่ใช้บริโภค

3.1. ส่วนของผักที่ใช้บริโภค ได้แก่ ใบ ล าต้น ราก ดอก ผล และเมล็ด การผลิตผักเพื่อ ต้องการส่วนของใบและล าต้นจึงจ าเป็นต้องเพิ่มปริมาณปุ๋ยที่ธาตุไนโตรเจน ส่วนการผลิตผัก เพื่อบริโภคส่วนของดอก ผล เมล็ด และระบบรากที่แข็งแรงต้องเพิ่มปริมาณปุ๋ยที่ให้ธาตุ ฟอสฟอรัส ส่วนความแข็งแรงและรสชาติหวานของผลได้รับจากปุ๋ยที่ให้ธาตุโพแทสเซียมเป็น ส่วนใหญ่ นอกจากนี้การปลูกผักที่ต้องการส่วนต่างๆ เช่น ผักที่บริโภคส่วนของระบบราก จะไม่เพาะกล้าเพื่อท าการย้ายปลูก ส่วนที่ใช้บริโภคของผักจ าแนกได้ดังนี้

3.1.1. ราก

3.1.1.1. รากแก้ว

3.1.1.1.1. แครอท

3.1.1.1.2. เทอร์นิพ

3.1.1.1.3. ผักกาดหัว

3.1.1.2. รากแขนง

3.1.1.2.1. มันเทศ

3.1.2. ลำต้น

3.1.2.1. ล าต้นเหนือดิน

3.1.2.1.1. กะหล่ำปม

3.1.2.1.2. หน่อไม้ฝรั่ง

3.1.2.2. ล าต้นใต้ดิน

3.1.2.2.1. ขิง

3.1.2.2.2. ข่า

3.1.2.2.3. เผือก

3.1.2.2.4. มันฝรั่ง

3.1.2.2.5. มันมือเสือ

3.1.2.2.6. หน่อไม้

3.1.3. ใบ

3.1.3.1. ตระกูลหอม

3.1.3.1.1. กระเทียม

3.1.3.1.2. กระเทียมต้น

3.1.3.1.3. หอมแดง

3.1.3.1.4. หอมแบ่ง

3.1.3.1.5. หอมหัวใหญ่

3.1.3.2. กลุ่มใบกว้าง

3.1.3.2.1. กะหล่ าปล

3.1.3.2.2. คะน้า

3.1.3.2.3. ปวยเล้ง

3.1.3.2.4. ผักกาดขาวปลี

3.1.3.2.5. ักกาดหอม

3.1.4. ดอก

3.1.4.1. ตาดอกอ่อน

3.1.4.1.1. กะหล่ าดอก

3.1.4.1.2. บล็อกโคลี

3.1.4.2. ดอกแก

3.1.4.2.1. แค

3.1.4.2.2. โสน

3.1.5. ผล

3.1.5.1. ผลอ่อน

3.1.5.1.1. กระเจี๊ยบเขียว

3.1.5.1.2. ้าวโพดฝักอ่อน

3.1.5.1.3. แตงกวา

3.1.5.1.4. ั่วฝักยาว

3.1.5.1.5. ถั่วลันเตา

3.1.5.1.6. บวบเหลี่ยม

3.1.5.1.7. มะเขือ

3.1.5.1.8. มะระ

3.1.5.2. ผลแก

3.1.5.2.1. ตระกูลแตง

3.1.5.2.2. ผักตระกูลมะเขือ

4. นายภูวิศ บันทอน 59161182