การจาแนกประเภทของผัก

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การจาแนกประเภทของผัก by Mind Map: การจาแนกประเภทของผัก

1. จำแนกตามฤดูปลุกที่เหมาะสม

1.1. การใช้เกณฑ์ฤดูปลูกที่เหมาะสมในการจำแนกผักนั้น จะขึ้นอยู่กับฤดูกาล อันมีผลเกี่ยวเนื่องจากลักษณะทางสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศของพื้นที่นั้นๆ สำหรับประเทศประเทศไทยนั้น อยู่ในเขนร้อนชื้น ตลอดปี มี 3 ฤดู

1.1.1. ฤดูฝน เดือน มิถุนายน-กันยายน

1.1.2. ฤดูหนาว เดือน ตุลาคม-มกราคม

1.1.3. ฤดูร้อน เดือน กุมภาพันธ์-พฤษภาคม

1.2. ผักฤดูหนาว

1.2.1. สามารถเจริญเติบโต ได้ดีระหว่างอุณหภูมิ 18-28 องศาเซลเซียส

1.2.2. หากใช้พันธุ์ที่ไม่เหมาะสม อาจทำให้ผลผลิตต่ำ หรือเสียหาย

1.2.2.1. กระหล่ำดอก

1.2.2.2. กระเทียม

1.2.2.3. แครอท

1.2.2.4. บล็อกโคลี

1.2.2.5. ผักกาดเขียวปลี

1.2.2.6. ผักกาดหัว

1.2.2.7. กระหล่ำปลี

1.3. ผักในฤดูร้อน

1.3.1. สามารถเจริญเติบโต ได้ดีในสภาพอุณหภูมิระหว่าง 25-35 องศาเซลเซียส

1.3.2. การปลูกในประเทศไทย สามารถเจริญเติบโต ให้ผลผลิตสูงตลอดปี

1.3.2.1. กระเจี๊ยบเขียว

1.3.2.2. ข้าวโพดหวาน

1.3.2.3. ผักตระกูลทุกชนิด

1.3.2.3.1. ยกเว้น

1.3.2.4. ผักตระกูลมะเขือ

1.3.2.4.1. ยกเว้น

1.4. ผักฤดูฝน

1.4.1. สามารถเจริญเติบโต ได้ดีในสภาพอุณหภูมิระหว่าง 25-35 องศาเซลเซียส และและทนฝน

1.4.2. New node

1.4.3. ผักตระกูลแตง

1.4.3.1. ยกเว้นแตงเทศ

1.4.4. ผักตระกูลมะเขือ

1.4.5. ถั่วฝักยาว

2. การจาแนกผักตามส่วนที่ใช้บริโภค

2.1. ส่วนของผักที่ใช้บริโภค ได้แก่ ใบ ลาต้น ราก ดอก ผล และเมล็ด

2.2. ราก

2.2.1. รากแก้ว

2.2.1.1. แครอท

2.2.1.1.1. New node

2.2.1.2. เทอร์นิฟ

2.2.1.3. ผักกาดหัว

2.2.1.4. New node

2.2.2. รากแขนง

2.2.2.1. มันเทศ

2.3. ลำตัน

2.3.1. ลำต้นเหนื่อดิน

2.3.1.1. กระหล่ำปม

2.3.1.2. หน่อไม้ฝรั่ง

2.3.2. ลำตันใต้ดิน

2.3.2.1. ขิง

2.3.2.2. ข่า

2.3.2.3. เผือก

2.3.2.4. มันฝรั่ง

2.3.2.5. มันมือเสือ

2.3.2.6. หน่อไม้

2.4. ใบ

2.4.1. ตระกูลหอม

2.4.1.1. กระเทียม

2.4.1.2. กระเที่ยมต้น

2.4.1.3. หอมแดง

2.4.1.4. หอมแบ่ง

2.4.1.5. หอมหัวใหญ่

2.4.2. กลุ่มใบกว้าง

2.4.2.1. กระหล่ำปลี

2.4.2.1.1. New node

2.4.2.2. คะน้า

2.4.2.3. ปวยเล้ง

2.4.2.4. ผักกาดขาวปลี

2.4.2.5. ผักกาดหอ

2.5. ดอก

2.5.1. ตาดอกอ่อน

2.5.1.1. กระหล่ำดอก

2.5.1.2. บล็อกโคลี่

2.5.2. ดอกแก

2.5.2.1. แค

2.5.2.2. สโสน

2.6. ผล

2.6.1. ผลอ่อน

2.6.1.1. กระเจี๊ยบเขียว

2.6.1.1.1. New node

2.6.1.2. ข้าวโพดอ่อน

2.6.1.3. แตงกวา

2.6.1.4. ถั่ฝักยาว

2.6.1.5. ถั่ยลัยเตา

2.6.1.6. บวมเหลี่ยม

2.6.1.7. มะเขื่อ

2.6.1.8. มะระ

2.6.2. ผลแก่

2.6.2.1. ตะกูลแตง

2.6.2.1.1. แตงเทศ

2.6.2.1.2. แตงโม

2.6.2.1.3. หังทอง

2.6.2.2. ตระกูลมะเขือ

2.6.2.2.1. พริก

2.6.2.2.2. มะเขือ

3. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

3.1. จำแนกโดยอาศัยความ เกี่ยวข้องใกล้เคียงกันของผัก มีการเจริญเติบโตในสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศคล้ายคลึง กัน นอกจากนี้ผักประเภทเดียวกันมักมีระบบการเจริญเติบโตทางราก ลาต้น และใบ ระบบ การสืบพันธุ์ ได้แก่ ดอก ผล และเมล็ด ท่ีคล้ายคลึงกันและส่วนมากนิยมจาแนกผักตาม ลักษณะทางพฤกษศาสตร์น้ี ถึงแค่ระดับตระกูล

3.2. ตระกูลกะหล่ำ

3.2.1. กระหล่ำดอก

3.2.2. กระห่ำดอก

3.2.2.1. New node

3.2.2.1.1. New node

3.2.3. กนะหล่ำปลี

3.2.4. กวางตุ้ง

3.2.5. คะน้า

3.2.6. ผักกาดขาว

3.2.7. ปลี

3.2.8. ผักกาดเขียว

3.2.9. ผักกาดหัว

3.2.10. บล็อกโคลี่

3.3. ตระกูลแตง

3.3.1. แตงกวา

3.3.2. แตงเทศ

3.3.3. แตงโม

3.3.4. ตำลึง

3.3.5. บวมเหลื่ยม

3.3.6. บวมหอม

3.3.7. น้ำเต้า

3.3.8. ฟักทอง

3.3.9. มะระ

3.4. ตระกูลถั่ว

3.4.1. กระถิ่น

3.4.2. แค

3.4.3. ชะอม

3.4.4. ถั่วแขก

3.4.5. ถั่วฝักยาว

3.4.6. ถั่วลันเตา

3.4.7. มันแกว

3.4.8. โสน

3.4.9. New node

3.5. ตระกูลมะเขือ

3.5.1. พริก

3.5.2. พริกยักษ์

3.5.3. พริกหวาน

3.5.4. มะเขือ

3.5.5. มะเขือเทศ

3.5.6. มะแว้ง

3.6. ตระกูลอื่นๆ

3.6.1. ข้าวโพดหวาน

3.6.2. ขึ้นฉ่าย

3.6.3. เครื่องเทศ

3.6.4. ผักกาดหอม

3.6.5. ผักชี

3.6.6. ผักบุ่งจีน