Anaerobic bacteria

Keep track of all your to-dos for school with this template. You can turn all assignments into tasks using the task widget, set priorities, deadlines and mark progress.

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Anaerobic bacteria by Mind Map: Anaerobic bacteria

1. การตรวจแยกและวินิจฉัยแบคทีเรีย

1.1. Culture media

1.1.1. BHK

1.1.2. BBE

1.1.3. KVLB

1.1.4. PEA

1.1.5. EYA

1.1.6. Thio

1.1.7. CM

1.2. Inoculation

1.3. Isolation & Identification

1.3.1. ใช้แว่นขยายมือ หรือกล้อง dissecting microscope ตรวจดูโคโลนีที่เจริญบน media

1.3.2. ดูสีโคโลนีและการทำลายเม็ดเลือดแดง (hemolysis)

1.3.3. เขี่ยโคโลนีที่มีลักษณะต่างกันทุกชนิดลงจานเพาะเชื้อใหม่ (subculture)

1.3.4. แยกให้ได้เชื้อบริสุทธิ์ (pure culture)

1.3.5. การทดสอบ aerotolerant เพื่อยืนยันว่าเป็นเชื้อแอนแอโรบส์

2. คุณสมบัติทั่วไป

2.1. เจริญได้ดีในภาวะไร้ออกซิเจน

2.1.1. New vocabulary

2.2. เจริญในอาหารเลี้ยงเชื้อที่มี oxidation-reduction potential (Redox, Eh) ต่ำ

2.3. ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ในบรรยากาศปกติ

2.4. ไม่สามารถเจริญบนผิว agar ใน candle jar (5-10% CO2)

3. การจำแนกแบคทีเรียแอนแอโรบส์

3.1. แบ่งกลุ่มตามลักษณะ

3.1.1. Gram stain

3.1.2. Morphology

3.1.3. Spore formation

3.2. กลุ่มที่จำแนกได้

3.2.1. Gram Positive Spore forming Bacilli

3.2.2. Gram Positive Non Spore Forming Bacilli

3.2.3. Gram Positive Cocci

3.2.4. Gram Negative Bacilli

3.2.5. Gram Negative

4. การเพาะเชื้อ

4.1. เพาะในอาหารเลี้ยงเชื้อที่ไล่ O2 ออก

4.1.1. เติม reducing agent ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ

4.1.1.1. Thioglycolic acid

4.1.1.2. Glucose

4.1.1.3. Ascobic acid

4.1.1.4. L-cystein

4.1.2. เพาะเลี้ยงใน cooked meat medium, Thioglycollate broth

4.2. เพาะในภาวะไร้ O2

4.2.1. Anaerobic jar

4.2.1.1. ทำบรรยากาศใน jar ให้ไร้ออกซิเจน

4.2.1.1.1. ใช้ซองผลิตก๊าซ

4.2.1.1.2. Evacuation-replacement(ER)technique

4.2.2. Anaerobic chamber

4.2.2.1. ส่วนประกอบ

4.2.2.1.1. Chamber

4.2.2.1.2. Vacuum pump

4.2.2.1.3. Gas mixture tank, 5-10% CO2+H2+85-90%N2

4.2.2.2. การเกิดภาวะไร้ออกซิเจนใน chamber อาศัย

4.2.2.2.1. วิธี Evacuation และ Replacement ดูดอากาศภายในออก & แทนที่ด้วย mixed gas

4.3. Anaerobic pouch or bag

4.3.1. มีจำหน่าย 2 ชนิด

4.3.1.1. Gas Pak Pouch (BBL)

4.3.1.2. Bio-Bag Type A (Becton-Dickinson)

4.3.2. หลักการในการทำให้เกิดภาวะไร้ออกซิเจนใช้หลักการเดียวกับ anaerobic jar

5. สิ่งส่งตรวจ

5.1. ลักษณะสิ่งส่งตรวจที่บ่งชี้

5.1.1. มีกลิ่นเหม็น

5.1.2. อยู่ใกล้เยื่อบุผิวช่องท้อง หรือระบบสืบพันธุ์

5.1.3. ได้จากแผลติดเชื้อที่ถูกคนหรือสัตว์กัด

5.1.4. มีเนื้อเน่าเปื่อยหรือเนื้อตาย

5.1.5. มีแก๊สในสิ่งส่งตรวจ

5.1.6. พบ sulfur granule มักบ่งชี้ถึงการติดเชื้อ Actinomyces

5.1.7. มีลักษณะช้ำเลือดช้ำหนอง

5.2. ภาชนะสำหรับเก็บ

5.2.1. anaerobic transported viais

5.2.1.1. Vacutainer Anaerobic Specimen Collector

5.2.1.2. Port-A-Cut, Anaerobic Culturrete

5.2.1.3. Anaport system

5.2.1.4. Accu-Culshurety

5.2.1.5. เป็นต้น

5.2.2. anaerobic bottle ที่เตรียมเอง

5.3. ชนิด

5.3.1. Aspirate จากบริเวณที่ปราศจากเชื้อ

5.3.2. Swabs จากแผล

5.3.3. Tissue จากแผลติดเชื้อ

5.3.4. Blood

5.4. การเก็บ

5.4.1. หลีกเลี่ยงการปนเปื้อนแบคทีเรียประจำถิ่น

5.4.2. ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณที่เจาะด้วยแอลกอฮอล์และทิงเจอร์ไอโอดีน

5.4.3. วิธีเก็บสิ่งส่งตรวจที่เหมาะสมที่สุด ได้แก่ วิธี percutaneous needle aspiration ใช้เข็มเจาะผ่านผิวหนังและดูดสิ่งส่งตรวจ

5.5. การนำส่ง

5.5.1. ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับออกซิเจนจนกว่าจะทำการเพาะเชื้อ

5.5.2. ใน anaerobic transport medium เชื้อมีชีวิตอยู่ได้นานเป็นวัน

5.5.3. สิ่งส่งตรวจที่เป็นหนองข้นมีสารพวก reducung ช่วยให้เชื้อมีชีวิตอยู่ได้นานกว่าสิ่งส่งตรวจที่เป็นน้ำใส

5.5.4. เชื้อแอนแอโรบส์มีชีวิตอยู่ได้นานในชิ้นเนื้อขนาดใหญ่

5.5.5. ในอุจจาระและปัสสาวะมีสารและเอนไซม์ที่สามารถทำลายเชื้อจึงควรเพาะเชื้อโดยเร็ว

5.5.6. ระหว่างรอนำส่งห้องปฏิบัติการหรือรอเพาะเชื้อ

5.5.6.1. ให้เก็บสิ่งส่งตรวจที่อุณหภูมิห้อง

5.5.6.2. ที่ 37 องศาเซลเซียส เชื้อแอนแอโรบส์บางชนิดที่เจริญได้เร็วจะบดบังเชื้ออื่น

5.5.6.3. ไม่เก็บสิ่งส่งตรวจในตู้เย็น เนื่องจากออกซิเจนซึมเข้าสิ่งส่งตรวจได้มากขึ้น

6. ความสำคัญ

6.1. เป็นแบคทีเรียประจำถิ่นของร่างกาย

6.1.1. Text book p. 55-60

6.1.2. Joseph Conrad "Heart of Darkness"

6.2. ปกติไม่ก่อโรค

6.3. ก่อให้เกิดการติดเชื้อร่วมกับเชื้ออื่น

7. โรคติดเชื้อ

7.1. สำคัญ

7.1.1. บาดทะยัก

7.1.2. โบทูลิซึม

7.1.3. ก๊าซแกงกรีน

7.2. ปัจจัยก่อโรค

7.2.1. Enzymes

7.2.2. Toxins

7.2.3. Capsule

7.2.4. Adherence factors

7.3. ปัจจัยของโฮสต์

7.3.1. มีการฉีกขาดของเยื่อเมือก

7.3.2. มีเชื้อเข้าไปบริเวณที่ปราศจากเชื้อ

7.3.3. มีโรคของหลอดเลือด

7.3.4. มีภูมิต้านทานต่ำ

7.3.5. มีภาวะเหมาะสม เช่น แผลลึก

7.3.6. ได้รับยาต้านจุลชีพ