1. 4. การออกแบบการทดลอง
1.1. อุปกรณ์
1.1.1. 1. วัสดุ 1.1 น้ำมะนาว 1.2 น้ำสับปะรด 1.3 น้ำส้ม 1.4 เกลือละลายน้ำ 1.5 เหรียญหนึ่งบาท 3 แหรียญ 2. อุปกรณ์ 2.1 มีด 2.2 แก้วขนาดกลาง 3 ใบ 2.3 ชามใบเล็ก 2 ใบ 2.4 ช้อน 2 คัน 2.5 เขียง 2.6 กระดาษลิตมัส
1.2. ขั้นตอนการดำเนินงาน
1.2.1. ขั้นตอนการเตรียมวัสดุ 1.1 นำมะนาว สับปะรดและส้มมาคั้นให้ได้น้ำและกรองเอาตะกอนทิ้ง 1.2 นำเกลือมาละลายน้ำละอาดทิ้งไว้ประมาณ 5 นาที
1.2.2. ขั้นตอนการทดลอง ตอนที่ 1 ศึกษาระดับค่าความเป็นกรดของน้ำผลไม้เมื่อนำมาผสมและเรียงลำดับจากค่ามากไปหาค่าน้อย 1.1 นำมะนาว ส้ม สับปะรด มาคั้นให้ได้น้ำ 1.2 เมื่อได้น้ำผลไม้ทั้ง 3 ชนิด แล้วให้นำมาผสมกันตามสัดส่วนดังนี้ 1.2.1 นำน้ำสับปะรดไปผสมกับน้ำมะนาว ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะเท่ากัน 1.2.2 นำน้ำส้มไปผสมกับน้ำมะนาว ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะเท่ากัน 1.2.3 นำน้ำส้มไปผสมกับน้ำสับปะรด ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะเท่ากัน 1.3 เมื่อนำไปผสมตามสัดส่วนแล้ว คนให้เข้ากันแล้วทดสอบหาระดับค่าความเป็นกรดด้วยกระดาษลิตมัส 1.4 บันทึกผลการทดลองที่ได้ โดยการเรียงลำดับระดับค่าความเป็นกรด จากค่ามากไปหาค่าน้อย ตอนที่ 2 ศึกษาหาความสามารถในการกัดกร่อนและขจัดคราบสกปรกบนเหรียญ เมื่อนำเกลือละลายน้ำผสมลงไป 2.1 ให้นำเกลือละลายน้ำที่ได้ไปผสมกับน้ำผลไม้ในตอนที่1 ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะ 2.2 คนให้เข้ากัน แล้วนำเหรียญที่มีคราบสกปรกใส่ลงไปในน้ำผลไม้ที่ผสมเกลือละลายน้ำไว้ 2.3 ทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที แล้วสังเกตความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 2.4 นำเหรียญออกมาล้างน้ำสะอาด เช็ดให้แห้งนำมาเปรียบเทียบกัน แล้วบันทึกผลการ ทดลองที่เกิดขึ้น
1.3. ผลการทดลอง
1.3.1. ตอนที่ 1 ระดับค่าความเป็นกรดของน้ำผลไม้เมือนำมาผสมกันเรียงลำดับจากค่ามากไปหาค่าน้อยเป็นนดังนี้ น้ำผลไม้ที่นำมาผสมกัน ระดับค่า pH ที่ได้ 1. น้ำมะนาว + น้ำสับปะรด 3.0 2. น้ำมะนาว + น้ำส้ม 4.0 3. น้ำส้ม + น้ำสับปะรด 4.5
1.3.2. ตอนที่ 2 ความสามารถในการกัดกร่อนและขจัดคราบสกปรกบนเหรียญเมื่อนำน้ำน้ำเกลือละลายน้ำผสมลงไป แก้วที่ 1 น้ำส้ม + น้ำมะนาว แก้วที่ 2 น้ำมะนาว + น้ำสับปะรด แก้วที่ 3 น้ำส้ม + น้ำสับปะรด เหรียญหนึ่งบาทที่สกปรกจำนวน 3 เหรียญ เหรียญที่มีสกปรกใส่ในแก้วน้ำผลไม้ผสมเกลือละลายน้ำ เหรียญที่ผ่านการแช่น้ำผลไม้ผสมเกลือละลายน้ำ 30 นาที