ประเภทของประเบียบวิจัย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ประเภทของประเบียบวิจัย by Mind Map: ประเภทของประเบียบวิจัย

1. 4.ประเด็นสำคัญของการออกแบบการวิจัย

1.1. ในการวิจัยนั้นจะต้องประกอบด้วยขั้นตอนทางทฤษฎี การทดลอง การคำนวณทางคณิตศาสตร์ การค้นหาคำตอบโดยใช้สถิติประกอบกัน วิธีวิจัยจะช่วยให้นักวิจัยสามารถคิดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างและค้นหาคำตอบเพื่อแก้ปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่งทำให้เกิดการวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ

1.1.1. 1.ความตรง

1.1.1.1. ความตรงภายใน (internal validity) เป็นลักษณะของการวิจัยที่จะสามารถ ตอบปัญหา/สรุปผลการวิจัยได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และน่าเชื่อถือว่า ผลที่เกิดขึ้นกับตัวแปรตามนั้น มีสาเหตุเนื่องมาจากตัวแปรอิสระหรือตัวแปรจัดกระทำเท่านั้น

1.1.2. 2.ประเด็นทางจริยธรรม

1.1.2.1. ประเด็นทางจริยธรรม (ethical issues) เป็นสิ่งที่ผู้ทำวิจัยต้องคำนึงถึงในกระบวนการดำเนินงานแสวงหาความจริงจากโจทย์ปัญหาวิจัยต่างๆ ตัวอย่างความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นของประเด็นปัญหาทางจริยธรรมมีดังนี้ การละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัว (privacy) การหลอกลวง (deception) การบิดเบือนข้อมูล หรือสรุปผล โดยจงใจปกปิดข้อมูลสำคัญ ทำให้ผู้อื่นเข้าใจผิด การคัดลอกผลงานผู้อื่นมาเป็นของตนเอง (plagiarism)

1.1.2.2. ความตรงภายนอก (external validity) หมายถึง การวิจัยที่สามารถสรุปอ้างอิงผลการวิจัยจากกลุ่มตัวอย่างไปยังกลุ่มประชากรได้ ปัจจัยที่มีผลต่อความตรงภายนอก

2. 5.ระเบียบวิธีวิจัยและขั้นตอนการทำวิจัย

2.1. ระเบียบวิธีวิจัยในงานวิจัยเพื่อศึกษาปัญหาและปัจจัยในการใช้งานระบบการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณเป็นข้อมูลสนับสนุนเพื่อให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น

3. 6.ขั้นตอนระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ

3.1. ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณมีขั้นตอนประกอบด้วย 1.การกำหนดลักษณะของประชากร 2.การกำหนดรูปแบบของการเก็บข้อมูล 3.การเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง

4. การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ (scientific research) เป็นการวิจัยเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น ครอบคลุมเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์กายภาพ คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์

5. วิธีวิจัย (research method) หมายถึง กระบวนการ แผนดำเนินการ ขั้นตอนวิธี หรือวิธีการใดๆ ที่หลากหลาย ที่ใช้ในการวิจัยโดยวิธีการเหล่านั้นทั้งหมดได้นำไปใช้ในกระบวนการวิจัยโดยนักวิจัยในระหว่างการทำวิจัย วิธีการเหล่านั้นจะต้องมีการวางแผน มีขั้นตอนตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเป็นกลางทางค่านิยม (value-neutral)

6. ระเบียบวิธีวิจัย (research methodology) หมายถึง วิธีการอย่างเป็นระบบสำหรับแก้ปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่ง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นวิธีการที่เป็นวิทยาศาสตร์สำหรับการศึกษาระบบและกระบวนการงานวิจัยงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิธีการหลักที่นักวิจัยใช้ในการอภิปราย อธิบาย และการคาดคะเนปรากฏการณ์ ก็จะเรียกรวมกันว่า ระเบียบวิธีวิจัย ระเบียบวิธีวิจัยอาจหมายรวมถึงการศึกษาวิธีการต่างๆ ที่ได้มาซึ่งความรู้ หรือการวางแผนการทำงานวิจัยก็ได้

7. 1.ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับระเบียบวิจัย

7.1. วิธีวิจัย (research method) หมายถึงกระบวนการ แผน ดำเนินการ ขั้นตอนวิธี หรือวิธีการใดๆ ที่หลากหลาย ที่ใช้ใน การวิจัยโดยวิธีการเหล่านั้นทั้งหมดได้นำไปใช้ในกระบวนการ วิจัยโดยนักวิจัยในระหว่างการทำวิจัย วิธีการเหล่านั้นจะต้องมี การวางแผน มีขั้นตอนตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ เป็นกลางทางค่านิยม (value-neutral)

7.2. ระเบียบวิธีวิจัย (research methodology) หมายถึง วิธีการอย่างเป็นระบบสำหรับแก้ปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่ง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นวิธีการที่เป็นวิทยาศาสตร์สำหรับการศึกษาระบบและกระบวนการงานวิจัยงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิธีการหลักที่นักวิจัยใช้ในการอภิปราย อธิบาย และการคาดคะเนปรากฏการณ์ ก็จะเรียกรวมกันว่า “ ระเบียบวิธีวิจัย ”

8. 2.ความแตกต่างระหว่างระเบียบวิธีวิจัยแล้ววิธีวิจัย

9. 3.ประเภทของงานวิจัย

9.1. แบ่งตามขอบเขตของศาสตร์

9.1.1. การวิจัยทางสังคมศาสตร์

9.2. การวิจัยทางวิทยาศาสตร์

9.3. การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (social research) เป็นการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคม และครอบคลุมเนื้อหาวิชาหลายประเภท เช่น ปรัชญา ศาสนา การศึกษา

9.4. แบ่งตามวิธีดำเนินการวิจัยหรือระเบียบวิธีวิจัย

9.4.1. งานวิจัยแบบบรรยาย

9.4.1.1. งานวิจัยแบบบรรยาย (descriptive research) คือวิธีการสำรวจ สอบสวน รวมถึงการซักถาม เพื่อหาข้อเท็จจริงต่างๆ วัตถุประสงค์หลักของการวิจัยแบบบรรยายคือ การอธิบายสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เช่นการวิจัยทางสังคม และทางธุรกิจ

9.4.1.1.1. การศึกษาเชิงสำรวจ (survey studies)

9.4.1.1.2. การศึกษาเชิงความสัมพันธ์ (interrelationship studies)

9.4.1.1.3. การวิจัยเชิงพัฒนา (developmental studies)

9.4.2. วิจัยแบบวิเคราะห์

9.4.3. การวิจัยแบบวิเคราะห์ (analytical research) ผู้วิจัยต้องใช้ข้อเท็จจริงและข้อมูลที่ หาได้ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์หลักฐานที่รวบรวมได้เพื่อแสวงหาคำตอบสำหรับปัญหาวิจัย และวิเคราะห์สิ่งเหล่านั้นเพื่อวิจารณ์ข้อมูลเหล่านั้น การวิจัยแบบวิเคราะห์ ได้แก่ การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ การวิจัยเชิงปรัชญา

9.4.3.1. - แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.งานวิจัยพื้นฐาน 2.งานวิจัยประยุกต์ 3.การวิจัยเชิงปฏิบัติการ

9.4.4. -แบ่งตามลักษณะของข้อมูล 1.ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ 2.ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ 3.ข้อแตกต่างระหว่างระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ 4.ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม