ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ by Mind Map: ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์

1. ประโยชน์ของวิชาเศรษฐศาสตร์

1.1. ช่วยในการดำรงชีวิต เป็นความรู้ขั้นพื้นฐานในการประกอบธุรกิจ หน่วยธุรกิจนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินธุรกิจ ประโยชน์ต่ส่วนรวม เข้าใจพฤติกรรมมนุษย์

2. หน่วยเศรษฐกิจ

2.1. ผู้บริโภค เจ้าของปัจจัยการผลิต หน่วยธุรกิจ รัฐบาล

3. ระบบเศรษฐกิจ

3.1. ระบบเศษรฐกิจแบบทุนนิยม ระบบเศษรฐกิจแบบสังคมนิยม - แบบสังคมนิยมประชาธิปไตย - แบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ระบบเศษรฐกิจแบบผสม

4. การแก้ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

4.1. การใช้ระบบปฏิบัติตามประเพณีที่สืบทอดกันมา การใช้ระบบวางแผนจากส่วนกลาง การใช้ระบบราคาตลาด หรือ "กลไกตลาด"

5. วิธีการศึกษาเศรษฐศาสตร์

5.1. เศรษฐศาสตร์นโยบาย ศึกษาผลการดำเนินงานชองหน่วย เศรษฐกิจต่างๆ ว่าเป็นที่พึงปราถนาของสังคมหรือไม่

5.2. เศรษฐศาสตร์นโยบาย ศึกษาผลการดำเนินงานชองหน่วย เศรษฐกิจต่างๆ ว่าเป็นที่พึงปราถนาของสังคมหรือไม่

6. เศรษฐศาสตร์

6.1. เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาถึงการใช้ทรัพยากร หรือปัจจัยการผลิตที่มีอยู่อย่างจำกัดมาใช้ในการผลิต สินค้าแลับริการ เพื่อตอบสนองความต้องการที่ไม่จำกัด ของมนุษย์ให้เกิดประโยชน์และประหยัดที่สุด

6.2. เป็นสาขาวิชาหนึ่งของสังคมศาสตร์ ศึกษาเกี่ยวกับหลักในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง จำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด

7. แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์

7.1. เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macro-Economics) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ทฤษฏีรายได้ประชาชาติ" เป็นการศึกษาภาวะเศรษฐกิจโดยรวมทั้งระบบ เศรษฐกิจหรือทั้งประเทศ

7.2. เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Micro-Economics) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ทฤษฏีราคา" เป็นการ ศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของหน่วย งานย่อยๆในสังคม

8. ความสัมพันธ์ระหว่าง วิชาเศรษฐศาสตร์กับ วิชาอื่นๆ

8.1. เศรษฐศาสตร์กับบริหารธุรกิจ ศึกษาการดำเนินธุรกิจอย่าง มีประสิทธิภาพมากที่สุด ประหยัดแรงงานมากที่สุด และมี กำไรสูงสุด

8.2. เศรษฐศาสตร์กับรัฐศาสตร์ หรือ เศรษฐศาสตร์การเมือง อาศัยความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจในการป้องกัน ให้ประเทศสงบ

8.3. เศรษฐศาสตร์กับจิตวิทยา ใช้ความรู้ในส่วนนี้ไปใช้อธิบาย กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์ได้

9. ปัญหาเศรษฐกิจพื้นฐาน

9.1. ปัญหาว่าทำอย่างไรจึงจะจัดสรรปัจจัยการผลิตที่มีอยู่ อย่างจำกัดในการผลิตและบำบัดความต้องหารของ มนุษย์ให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ เรียกว่าปัญหาเศรษฐกิจ พื้นฐาน 3 ปัญหา คือ 1.ผลิตอะไร 2.ผลิตอย่างไร 3.ผลิตเพื่อใคร