1. ระบบการเรียนการสอน
1.1. ระบบ (System)
1.1.1. ความหมายราชบัณฑิตยสถาน(พ.ศ.2525)
1.1.1.1. ระเบียบการรวมสิ่งต่างๆ ที่มีลักษณะซับซ้อน ให้เข้าลำดับประสานกันเป็นอันเดียว
1.1.1.2. ระบบใหญ่และระบบย่อย
1.1.1.2.1. ระบบใหญ่
1.1.1.2.2. องค์ประกอบระบบ/การเรียนการสอน
1.1.2. วิธีระบบหรือการจัดระบบ (System Approach )
1.1.2.1. ความหมาบโดยรวม
1.1.2.1.1. การจัดระบบดำเนินงาน
1.1.2.1.2. วิธีระบบตามกระบวนการวิทยาศาสตร์
1.2. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis)
1.2.1. 1. รวมสิ่งที่เป็นปัญหา
1.2.2. 2. กำหนดจุดมุ่งหมายของปัญหา
1.2.3. 3. ศึกษาข้อจำกัดทรัพยากร
1.2.4. 4. การพิจารณาเลือกแนวทางารแก้ปัญหา
1.2.5. 5. การพิจารณาเลือกแนวทางารแก้ปัญหาปัฏิบัติได้จริง
1.2.6. 6. วางแผนเตรียมทดลองปัฏิบัติกับกลุ่มย่อย
1.2.7. 7. ทดลองปัฏิบัติกับกลุ่มย่อ
1.2.8. 8.ประเมิณปลการทดลองเพื่อปรับปรุงแก้ไขและนำไปใช้กับประชากร
2. การสื่อสาร (Communication)
2.1. ความหมายของการสื่อสาร
2.1.1. Communication
2.1.1.1. Communis หรือ Commus
2.1.1.1.1. แปล = การสื่อสาร การติดต่อสื่อสาร การถ่ายทอด
2.2. วัตถุประสงค์ในการสื่อสาร
2.2.1. 1. เพื่อแจ้งให้ทราบ
2.2.2. 2. เพื่อสอนหรื้อให้การศึกษา
2.2.3. 3. เพื่อสร้างความพอใจหรืฮบันเทิง
2.2.4. 4. เพื่อเสนอหรือชักจูง
2.3. ประเภทของการสื่อสาร
2.3.1. จำแนกตามลักษณะภาษาที่ใช้
2.3.1.1. 1. การสื่อสารด้วยวัจนภาษา = เป็นการสื่อสารโดยการพูดโต้ตอบกัน
2.3.1.2. 2. การสื่อสารด้วยอวัจนภาษา = เป็นการติดสื่อสารด้วยท่าทางที่แสดงออก
2.3.2. จำแนกตามตำแหน่งของผู้ส่งสารและผู้รับสาร
2.3.2.1. 1. การสื่อสารทางตรง = เป็นการสื่อสารที่ ผู้ส่งสารและผู้รับสารอยู่เผชิญหน้าในสถานที่และเวลาเดียวกัน
2.3.2.2. 2. การสื่อสารทางอ้อม = เป็นการสื่อสารที่ ผู้ส่งสารและผู้รับสารอยู่ต่างที่่กัน อาจอยู่ในเวลาเดียวกัน หรือต่างเวลา ผ่านช่องทาง
2.3.3. จำแนกตามความสามารถในการตอบโต้ของผู้ส่งสารและผู้รับสาร
2.3.3.1. 1. การสื่อสารทางเดียว = เป็นการสื่อสารที่ ผู้ส่งสารและผู้รับสารไม่สามารถโต้ตอบกันทันทีทันใด เช่น สอนที่ยึผู้สอนไม่เปิดอกาสให้นักเรียนได้ซักถามโต้ตอบ
2.3.3.2. 2. การสื่อสารสองทาง = เป็นการสื่อสารที่ ผู้ส่งสารและผู้รับสารสามารถโต้ตอบกันทันทีทันใด เช่น การพูดคุย การเรียนการการอสนเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ผู้สอนกับผู็ฃ้เรียนสามารถโต้ตอบ
2.4. รูปแบบการสื่อสาร
2.4.1. แบบจำลองการสื่อสาร
2.4.1.1. เวลล์ ลาส เวลล์ (Lasswell,1948)
2.4.1.2. เดวิด เบอร์โล (David,1960)
2.5. องค์ประกอบของการสื่อสาร
2.5.1. 1. ผู้ส่งสาร (Sender)
2.5.2. 2. เรื่องราว (Massage)
2.5.3. 3. ช่องทาง (Channel)
2.5.4. 4. ผู้รับสาร (receiver)
2.6. กระบวนกการสื่อสาร
2.6.1. 1. ผู้ส่งสาร (Sender)
2.6.2. 2. สาร (Massage)
2.6.3. 3. ช่องทาง (Channel)
2.6.4. 4. ผู้รับสาร (receiver)
2.6.5. 5. ผล (Effect)
2.6.6. 6. ย้อนกลับ (Feed back)
2.6.7. 4. เพื่อเสนอหรือชักจูง
2.7. การสื่อสารการเรียนการสอน
2.7.1. ปัจจัยที่มีอิธิพลต่อการสื่อสารในห้องเรียน
2.7.1.1. จากตัวผู้สอนในฐานะผู้ส่ง
2.7.1.2. จากตัวผู้เรียนในฐานะผู้รับ
2.7.1.3. จากสื่อการเรียนการสอนในฐานะสะพานเชื่อมโยงระหว่างผู้สอนกับผ๔้เรียน
2.7.2. ลักษณะของการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
2.7.2.1. การให้ความรู้และอบรมสั่งสอน ทางเดียวหรือสองทาง
2.7.2.2. การฝึกปฏิบัติหรือการสั่งงาน
2.7.2.3. การให้คำแนะนำในการแก้ไขปัญหาต่างๆ
2.7.2.4. การนำวิธ๊สื่อมาใช้ในชีวิตประจำวัน
2.7.2.5. การวิจารณ์ผลงานของผู้เรียนตรงไปตรงมา
2.8. อุปสรรคของการสื่อสารในการสอน
2.8.1. 1. สอนไม่ได้บอกวัตถุประสงค์ในการเรียน
2.8.2. 2. สอนไม่คำนึงความแตกต่างผู้เรียน
2.8.3. 3. สอนใช้คำอธิบายยากเกินไป
2.8.4. 4. ผู้สอนมักนำเสนอห้าวกวน
2.8.5. 5. สอนไม่สนใจสื่อ
2.8.6. 6. ผู้สอนไม่สนใจในการสร้างบรรยากาศ
3. การออกแบบการเรียนการสอน
3.1. หลักพื้นฐานการออกแบบการเรียนการสอบ
3.1.1. 1. คำนึงถึงผลการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นเป้าหมายสำคัญ
3.1.2. 2. คำนึงถึงปัจจัยที่ผลต่อการเรียนรู้
3.1.3. 3. รู้จักประยุกต์การเรียนการสอน วิธีสอน
3.1.4. 4. ใช้วิธีการและสื่อที่หลากหลาย
3.1.5. 5. มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การนำไปทดลองได้จริง
3.1.6. 6. มีการประเมิณผลครอบคลุมทั้งกระบวนการเรียนการสอนและการประเมิณผลผู้เรียน
3.1.7. 7. องค์ประกอบการเรียนการสอนมีความสัมพันธ์กัน
3.2. ระบบการเรียนการสอน
3.2.1. โรเบิร์ต เกลเซอร์ (Robert Ggallager)
3.2.2. บราวน์และคณะ (Brown & Others)
3.2.3. แคมพ์ (Kermp)
3.2.4. เกอร์ลาวและอีลี (Gerlach & Ely)
3.2.5. แอดดี (ADDIE Model)
3.2.6. ดิคและแครี (Dick & Carey,1985))