การศึกษาการมีส่วนร่วมของครูในการพัฒนาการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การศึกษาการมีส่วนร่วมของครูในการพัฒนาการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา by Mind Map: การศึกษาการมีส่วนร่วมของครูในการพัฒนาการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา

1. สิ่งที่ได้เรียนรู้

1.1. ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาการดำเนินงานการประกันคุณ ภาพการศึกษา ทั้ง 8 ด้าน

1.2. การมีส่วนร่วม

1.2.1. ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผลของฟิชเบนและอัจเซน

1.2.2. รูปแบบการทำนายพฤติกรรมของลิสิก้า

1.2.3. ทฤษฎีการเปรียบเทียบทางสังคมตามความต้องการของเฟสติงเจอร์

1.2.4. ทฤษฎีปริวรรษนิยมของโฮแมนส์

1.3. แนวคิดเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา

1.3.1. การพัฒนาคุณภาพ

1.3.2. การตรวจสอบคุณภาพ

1.3.3. การประเมินคุณภาพ

1.4. สถานศึกษามีบทบาทสำคัญ

1.4.1. เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

1.5. บทบาทสำคัญของครู

1.5.1. การประกันคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน

1.5.2. เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

1.5.3. มีการวิจัยในชั้นเรียน

1.6. ความหมายของการรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี

2. การเชื่อมโยงความรู้ที่ได้

2.1. แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทสำคัญของครู

2.1.1. พัฒนาระบบการประกันคุณภาพศึกษาของสถานศึกษา

2.1.2. การประกันคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน

2.1.3. การปฏิรูปการสอน

2.2. แนวคิดของการประกันคุณภาพการศึกษา

2.2.1. การประกันคุณภาพ การเรียนรู้ของผู้เรียนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เต็มตามศักยภาพ

3. การประยุกต์ใช้ในการทำงาน

3.1. ปรับปรุงกระบวนการในการประเมินคุณภาพการศึกษา ให้สถานศึกษา

3.2. ทำให้ครูทุกคนมีบทบาทและส่วนร่วมในการประเมิน

3.3. ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ในโรงเรียน

3.3.1. เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

3.4. จัดให้มีการทำวิจัยในชั้นเรียน

4. สาระสำคัญ

4.1. ศึกษาการมีส่วนร่วมของครู

4.1.1. โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก

4.2. เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของครู

4.2.1. ครูที่มีวุฒิการศึกษาที่ต่างกันและครูที่อยู๋ในสถานศึกษาที่มีขนาดต่างกัน มีส่วนร่วมเทียบเท่ากัน

4.2.2. ครูที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกันมีส่วนร่วม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05

4.2.2.1. ยกเว้นด้านการพัฒนามาตรฐานการศึกษา

4.3. การประกันคุณภาพทั้ง 8 ด้าน

4.3.1. ด้านการจัดระบบบริหารและสารสนเทศ

4.3.2. ด้านการพัฒนามาตรฐานการศึกษา

4.3.3. ด้านการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

4.3.4. ด้านการดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

4.3.5. ด้านการตรวจสอบและทบทวน คุณภาพการศึกษา

4.3.6. ด้านการประเมินคุณภาพการศึกษา

4.3.7. ด้านการรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี

4.3.8. ด้านการผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

4.4. ปัญหาที่พบ

4.4.1. ด้านข้อมูล

4.4.1.1. ข้อมูลสารสนเทศขาดการจัดเอกสารที่เป็นระบบ

4.4.1.2. ไม่นำผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาในการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

4.4.2. การจัดการศึกษา

4.4.2.1. ไม่คำนึงถึงสภาพนักเรียนสภาพครอบครัว สภาพเศรษฐกิจ และสภาพสังคม

4.4.3. การปฏิบัติ

4.4.3.1. ขาดการสนับสนุนการทำงานตามแผนโครงการหรือกิจกรรม

4.4.3.2. ไม่ติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

4.4.4. ด้านบุคลากร

4.4.4.1. ขาดความรู้ความเข้าใจ เคยชินกับการทำงานรูปแบบเดิมๆ

4.4.4.1.1. ครูบางส่วนจึงไม่ค่อยมีส่วนร่วม

4.5. ข้อเสนอแนะ

4.5.1. ติดตามและนำข้อมูลมาปรับใช้อย่างต่อเนื่อง

4.5.2. พัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถตรงตามเป้าหมาย

4.5.3. จัดให้มีการประชุมวางแผน ร่วมกันเพื่อรับทราบและสรุปการทำงานที่ผ่านมา

4.5.4. จัดให้มีการตรวจสอบ หรือประเมินผลจากการทำกิจกรรมหรือโครงการทุกครั้ง

4.5.4.1. เพื่อนำผลมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุง

4.5.4.2. นำผลการตรวจสอบมาปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง

4.5.5. ผู้บริหารควรจะต้องกระตุ้นให้ผู้รับผิดชอบร่วมกันดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง