บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีและการสื่อสารทางการศึกษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีและการสื่อสารทางการศึกษา by Mind Map: บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีและการสื่อสารทางการศึกษา

1. หลักการเลือกและใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีและการสื่อสาร ทางการศึกษา

1.1. ความหมาย

1.1.1. การเลือกและการใช้เป็นกระบวนการที่สาคัญของครู นอกจากผู้สอนจะสามารถออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพแล้ว วิธีการนานวัตกรรมไปใช้ตลอดจนเลือกคุณลักษณะของสื่อและเทคโนโลยีให้เหมาะสมก็เป็นอีกหลักการที่สาคัญ

1.2. กระบวนการ

1.2.1. ASSURE Model ASSURE Model คือกระบวนการที่แนะแนวทางในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีบูรณาการเทคโนโลยีและสื่อลงในกระบวนการจัดการเรียนรู้

1.2.1.1. การวิเคราะห์ผู้เรียน(Analyze Learner Characteristics)

1.2.1.2. การกาหนดวัตถุประสงค์(State Objectives)

1.2.1.3. การเลือกวิธีการ สื่อ และวัสดุ(Select method, Media and Materials)

1.2.1.4. การใช้วิธีการ สื่อและวัสดุ(Utilize method , Media)

1.2.1.5. การตอบสนองที่มาจากผู้เรียน(Require Learner Response)

1.2.1.6. การประเมินและการปรับ(Evaluation and revise)

1.3. กระบวนการวิเคราะห์ผู้เรียน(Analyze Learner Characteristics)

1.3.1. คุณลักษณะทั่วไป จานวนผู้เรียน ระดับชั้น อายุ เพศ สถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ชาติพันธุ์ ฯลฯ

1.3.2. สมรรถนะเฉพาะที่มีมาก่อน ความรู้เดิมของผู้เรียน ทักษะทางปัญญา ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน

1.3.3. แบบการเรียน (Learning Styles) ผู้สอนควรตรวจสอบเกี่ยวกับ

1.3.3.1. การรับรู้ของผู้เรียน ในลักษณะต่างๆเช่น รับรู้ด้วยการฟัง การมองเห็น การสัมผัส และการเคลื่อนไหว

1.3.3.2. กระบวนการประมวลสารสนเทศของผู้เรียนว่ามีลักษณะอย่างไร

1.3.3.3. การสร้างปัจจัยทางด้านแรงจูงใจภายในและทางด้านกายภาพ เช่น ความวิตกกังวล แรงจูงใจทางด้านผลสัมฤทธิ์ ทางด้านสังคมหรือการแข่งขัน

1.4. การกำหนดวัตถุประสงค์(State Objectives )

1.4.1. มุ่งเน้นผู้เรียน (ไม่ใช่ผู้สอน) คือ ผู้เรียนเป็นสาคัญ

1.4.2. วัตถุประสงค์เป็นการอธิบายผลการเรียนรู้

1.4.2.1. ด้านความรู้ (Knowledge)

1.4.2.2. ด้านความสามารถในการปฏิบัติ (Performance)

1.4.2.3. ด้านเจคติ(Attititude)

1.5. การเลือกวิธีการ สื่อ และวัสดุ(Select Method, Media and Materials)

1.5.1. การเลือกสื่อควรเลือกบนพื้นฐานความต้องการของผู้เรียน

1.5.2. การเลือกสื่อควรเลือกจะต้องสอดคล้องกับสถานการณ์การเรียนรู้ทั้งกระบวนการ

1.5.3. การเลือกสื่อควรเป็นไปตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้

1.5.4. การเลือกสื่อควรสอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียนและแบบการเรียน

1.5.5. การเลือกสื่อควรพิจารณาว่าสื่อที่ดีที่สุดที่สามารถทาให้บรรลุการเรียนรู้

1.5.6. สื่อเพียงชนิดเดียวไม่เพียงพอทำให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ได้

1.5.7. สอดคล้องกับหลักสูตร

1.5.8. กระตุ้นแรงจูงใจและความสนใจในการเรียนรู้

1.5.9. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของสื่อ

1.5.10. มีคุณภาพในเชิงเทคนิคที่ช่วยในการเรียนการสอน

1.5.11. ทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน

1.5.12. มีความชัดเจนและภาษาอ่านเข้าใจง่าย

1.6. การใช้วิธีการ สื่อและวัสดุ (Utilize Method, Media and Materials)

1.6.1. ก่อนการจัดการเรียนรู้

1.6.2. ระหว่างการจัดการเรียนรู้

1.6.3. หลังการจัดการเรียนรู้

1.7. การตอบสนองที่มาจากผู้เรียน (Require Learner Response)

1.7.1. กิจกรรมและการถามปัญหา

1.7.2. ขั้นลงมือปฏิบัติกิจกรรม

1.7.3. การพัฒนาทักษะสู่การปฏิบัติ

1.8. การประเมินผลและการปรับ (Evaluation and revise)

1.8.1. การประเมินความสามารถของผู้เรียน (Evaluate Student Performance)

1.8.2. การประเมินองค์ประกอบของสื่อการเรียนรู้ (Evaluate Media Components) (Evaluate Media Components) (Evaluate Media Components) (

1.8.3. การประเมินองค์ประกอบของสื่อการเรียนรู้ (Evaluate Media Components)

1.8.4. การประเมินความสามารถของผู้สอน (Evaluate instructor Performance)

2. หลักการออกแบบและพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีและการสื่อสารทางการศึกษา

2.1. ความหมาย

2.1.1. สภาพปัจจุบันเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนมีความซับซ้อนมากกว่าแต่ก่อนและมีความต้องการนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีความซับซ้อนมากกว่าแต่ก่อนและมีความต้องการนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีความเหมาะสมกับการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้การออกแบบการสอนจะนาเนื้อหาความรู้มาแบ่งออกเป็นส่วนย่อยๆและเน้นการเรียนรู้ตามลำดับขั้นตอนการวัดและการประเมินผลการเรียนก็เน้นที่การจดจำตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้มากกว่าการประเมินสภาพความสำเร็จที่แท้จริงของผู้เรียนให้การพัฒนาด้านการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ การแสดงความคิดเห็น การแก้ปัญหาและการแสวงหาความรู้ของผู้เรียน

2.2. ประยุกต์แนวคิด

2.2.1. กระบวนการออกแบบ(Design Process)

2.2.1.1. จุดมุ่งหมายเพื่อออกแบบและพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีและการสื่อสารทางการศึกษา ประกอบด้วย การทบทวนวรรณกรรม การศึกษาสภาพบริบท การสังเคราะห์กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีสังเคราะห์กรอบแนวคิดการออกแบบ

2.2.1.1.1. ขั้นตอนที่ 1การทบทวนวรรณกรรม (Literature review)

2.2.1.1.2. ขั้นตอนที่ 2การศึกษาสภาพบริบท (Contextual study)

2.2.1.1.3. ขั้นตอนที่ 3 การสังเคราะห์กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี (Theoretical Framework )

2.2.1.1.4. ขั้นตอนที่ 4 การสังเคราะห์กรอบแนวคิดการออกแบบ

2.2.2. กระบวนการพัฒนา

2.2.2.1. มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างและพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีและการสื่อสารทางการศึกษาที่สมบูรณ์

2.2.2.1.1. ผู้เชี่ยวชาญด้านทฤษฎีผู้เชี่ยวชาญด้านทฤษฎี(Theorists)

2.2.2.1.2. ผู้ออกแบบ(Designers)

2.2.2.1.3. ผู้พัฒนา (Developers)

2.2.2.1.4. ผู้ประเมิน (Evaluator)

2.2.2.1.5. ผู้วิจัย (Researchers)

2.2.2.1.6. ผู้สอน (Teacher)

2.2.2.1.7. ผู้เรียน(Learners)

2.2.2.2. ขั้นตอนการประเมิน

2.2.2.2.1. การสร้างนวัตกรรมเป็นการนำองค์ประกอบของนวัตกรรมที่ได้ออกแบบไว้มาลงสู้การปฏิบัติเพื่อสร้างเป็นผลิตภัณฑ์(Product(ที่สามารถใช้งานได้จริงอย่างเป็นรูปธรรม

2.2.2.2.2. การทดลองใช้ในบริบทจริง เป็นการนานวัตกรรมที่สร้างขึ้นไปใช้จริงกับกลุ่มทดสอบเพื่อศึกษาความสมบูรณ์ของนวัตกรรม

2.2.2.3. กระบวนการประเมิน

2.2.2.3.1. การประเมินด้านผลผลิต

2.2.2.3.2. การประเมินบริบทการใช้

2.2.2.3.3. การประเมินความสามารถด้านสติปัญญา

2.2.2.3.4. การประเมินด้านความคิดเห็น

2.2.2.3.5. การประเมินผลสัมฤทธิ์