บทที่ 2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรม เทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรม เทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา by Mind Map: บทที่ 2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรม เทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา

1. มุมมองจิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์

1.1. การเรียนรู้ตามแนวคิด

1.1.1. การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความรู้อย่างตื่นตัวด้วยตนเองโดยพยายามสร้างความเข้าใจ (Understanding) นอกเหนือเนื้อหาความรู้ที่ได้รับ การแทนสิ่งแทนความรู้

1.2. เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวคิด

1.2.1. การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์จะมีพื้นฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่ให้นิยามเกี่ยวกับการเรียนรู้ไว้ว่าเป็นการสร้างความรู้

1.2.2. โดยทำการศึกษาการเรียนรู้ของมนุษย์ในสภาพจริง (Realistic) วิธีการเรียนรู้ภายใต้แนวคิดการสร้างความรู้นี้

1.3. ลักษณะที่สาคัญของการออกแบบสื่อตามแนวคิด

1.3.1. นำเสนอและส่งเสริมให้ผู้เรียนเห็นมุมมองและตัวแทนความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่หลากหลาย

1.3.2. เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการเรียนได้มาจากผู้เรียนหรือการเจรจาร่วมกับผู้สอน

1.3.3. ผู้สอนให้บริการในบทบาทของผู้แนะนำ ผู้กำกับ โค้ช และผู้อำนวยความสะดวกในการเรียน

1.3.4. กิจกรรม โอกาส เครื่องมือและสิ่งแวดล้อมต่างๆ จัดมาเพื่อส่งเสริมการกำกับวิธีการเรียนรู้

1.3.5. ผู้เรียนต้องมีบทบาทสำคัญในการใช้สื่อ และควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเอง

1.3.6. สถานการณ์เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม ทักษะ เนื้อหาและภารกิจ จะเกี่ยวข้องกับสภาพจริง

1.3.7. ข้อมูลแหล่งเรียนจะถูกใช้เพื่อที่จะทำให้เกิดความมั่นใจในสภาพจริง

1.3.8. การสร้างความรู้เป็นสิ่งที่มุ่งเน้นในการเรียนรู้ ไม่ใช่การคัดลอกความรู้

1.3.9. การสร้างความรู้จะเกิดขึ้นในบริบทของแต่ละบุคคลที่ผ่านการต่อรองทางสังคมการร่วมมือการเรียนรู้และการมีประสบการณ์ร่วมกัน

2. มุมมองจิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม

2.1. การเรียนรู้ตามแนวคิด

2.1.1. การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทาให้มีการแสดงพฤติกรรมนั้นถี่มากขึ้น

2.2. การทดลองของพาฟลอฟ (Povlov)

2.3. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาตามแนวคิด

2.3.1. มุ่งเน้นการออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจำความรู้ให้ได้ในปริมาณมากที่สุด

2.3.2. บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ

2.3.3. บทบาทของครูจะเป็นผู้นำเสนอข้อมูลสารสนเทศ

2.3.4. ครูจะสร้างสิ่งแวดล้อมที่ผู้เรียนจะต้องดูดซับข้อมูลสารสนเทศจำนวนมาก

2.4. ลักษณะที่สาคัญของการออกแบบสื่อตามแนวคิด

2.4.1. ระบุวัตถุประสงค์การสอนที่ชัดเจน

2.4.2. การสอนในแต่ละขั้นตอนนำไปสู่การเรียนแบบรอบรู้

2.4.3. ให้ผู้เรียนได้เรียนไปตามอัตราการเรียนรู้ของตนเอง

2.4.4. ดำเนินการสอนไปตามโปรแกรมหรือลำดับขั้นที่กำหนดไว้จากง่ายไปยาก

2.4.5. การออกแบบการเรียนเป็นลักษณะเชิงเส้นที่เป็นลำดับขั้นตอน

2.4.6. การให้ผลตอบกลับทันทีทันใด

3. มุมมองจิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม

3.1. การเรียนรู้ตามแนวคิด

3.1.1. การเรียนรู้เป็นสิ่งที่มากกว่าผลของการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าการตอบสนอง โดยให้ความสนใจในกระบวนการภายในที่เรียกว่า ความรู้ความเข้าใจหรือการรู้คิดของมนุษย์

3.2. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์

3.2.1. Service Offer

3.2.1.1. What are we selling?

3.2.1.2. Product Definition

3.2.1.3. Pricing

3.2.1.4. Packaging

3.2.1.5. Positioning

3.2.2. Value Proposition

3.2.2.1. What is the Value Proposition to the Customer?

3.2.2.2. What pain are we solving?

3.3. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาตามแนวคิด

3.3.1. การเรียนรู้เป็นผลมาจากการจัดระเบียบหรือจัดหมวดหมู่ของความจำลงสู่โครงสร้างทางปัญญา เรียกว่า Mental Models Mental Models

3.3.1.1. How do we generate and qualify new leads for the target offer?

3.3.1.2. Prospect Lists

3.3.1.3. Key Questions to Ask

3.3.1.4. Sales Collateral

3.3.1.5. Presentations

3.3.1.6. Data Sheets

3.3.1.7. White Papers

3.3.1.8. ROI Tools

3.3.1.9. Other Sales Tools (web site, etc.)

3.3.2. อยู่บนนิยามเกี่ยวกับการเรียนรู้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียน ทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพ

3.4. ลักษณะที่สำคัญของการออกแบบสื่อตามแนวคิด

3.4.1. การจัดระเบียบสารสนเทศใหม่และสร้างโครงสร้างสารสนเทศให้กับผู้เรียน

3.4.2. การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศใหม่กับความรู้เดิม

3.4.3. ใช้เทคนิคเพื่อแนะนำและสนับสนุนให้ผู้เรียนใส่ใจ

3.4.3.1. การมุ่งเน้นคำถาม

3.4.3.2. การเน้นคำหรือข้อความ

3.4.3.3. การใช้ Mnemonic