1. หลักการออกแบบและพัฒนานวัตกรรม
1.1. การออกแบบการสอนจะนำเนื้อหา ความรู้มาแบ่งออกเป็นส่วนย่อยๆ และเน้นการเรียนรู้ตามลำดับขั้นตอน
1.1.1. ซึ่งอาจส่งผลให้การพัฒนาด้านการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ การแสดงความคิดเห็นการแก้ปัญหาและการแสวงหาความรู้ของผู้เรียนยังปรากฏเห็นได้น้อย
1.1.2. เน้นการไตร่ตรองไม่ใช่การจำ และมุ่งเน้นการเรียนให้คิด ( How to Think )
1.1.3. เป็น พุทธิปัญญาในสภาพจริง (Situating Cognitive Experiences)
1.1.3.1. ส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ที่ปราศจากบริบท (Decontextualization of Learning) นำมาซึ่งการไม่สามารถเรียนรู้อย่างมีความหมาย
1.1.4. แนวคิดของ Richey and Klein(2007) ซึ่งประกอบด้วย 3 กระบวนการ
1.1.4.1. กระบวนการออกแบบ
1.1.4.1.1. มีจุดมุ่งหมายเพื่อออกแบบและพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีและการสื่อสารทางการศึกษา
1.1.4.2. กระบวนการพัฒนา
1.1.4.2.1. มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างและพัฒนา นวัตกรรม เทคโนโลยีและการสื่อสารทางการศึกษาที่สมบูรณ์
1.1.4.3. กระบวนการประเมิน
1.1.4.3.1. เป็นกระบวนการที่อธิบายให้เห็นคุณภาพ และประเมินประสิทธิภาพของนวัตกรรมที่สร้างขึ้น
2. หลักการเลือกใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีและการสื่อสารทางการศึกษา
2.1. ASSURE Model เป็นกระบวนการที่แนะแนวทางในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่มี บูรณาการเทคโนโลยีและสื่อลงในกระบวนการจัดการเรียนรู้
2.1.1. 1)การวิเคราะห์ผู้เรียน (Analyze Learner Characteristics)
2.1.2. 2)การก าหนดวัตถุประสงค์(State Objectives)
2.1.3. 3)การเลือกวิธีการ สื่อ และวัสดุ (Select method, Media and Materials)
2.1.4. 4)การใช้วิธีการ สื่อและวัสดุ (Utilize method , Media and Materials)
2.1.5. 5)การตอบสนองที่มาจากผู้เรียน (Require Learner Response)
2.1.6. 6)การประเมินและการปรับ (Evaluation and revise)
2.2. การวิเคราะห์ผู้เรียน (Analyze Learner Characteristics)
2.2.1. 1. คุณลักษณะทั่วไป จำนวนผู้เรียน ระดับชั้น อายุ เพศ สถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ชาติพันธุ์
2.2.2. 2. สมรรถนะเฉพาะที่มีมาก่อน ความรู้เดิมของผู้เรียน ทักษะทางปัญญา ความเข้าใจที่ คลาดเคลื่อนที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
2.2.3. 3. แบบการเรียน (Learning Styles)
2.2.3.1. 3.1 การรับรู้ของผู้เรียน ในลักษณะต่างๆ เช่น รับรู้ด้วยการฟัง การมองเห็น
2.2.3.2. 3.2 กระบวนการประมวลสารสนเทศของผู้เรียนว่ามีลักษณะอย่างไร
2.2.3.3. 3.3 การสร้างปัจจัยทางด้านแรงจูงใจภายในและทางด้านกายภาพ เช่น ความวิตกกังวล
2.3. การกำหนดวัตถุประสงค์(State Objectives)
2.3.1. การวางแผนการเลือกใช้สื่อ ก็คือ การอธิบายสิ่งที่ผู้สอนจะต้องทำการเรียนรู้ สิ่งที่ผู้สอนต้องตระหนัก
2.3.1.1. 1. มุ่งเน้นผู้เรียน (ไม่ใช่ผู้สอน) คือ ผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1.2. 2. วัตถุประสงค์เป็นการอธิบายผลการเรียนรู้ ให้คลอบคลุมทั้งด้านความรู้ (Knowledge) ด้านความสามารถในการปฏิบัติ(Performance) ด้านเจคติ(Attitude)
2.4. การเลือกวิธีการ สื่อ และวัสดุ (Select Method, Media and Materials)
2.4.1. การเลือกสื่อควรเลือกบนพื้นฐานความต้องการของผู้เรียน
2.4.2. การเลือกสื่อควรเลือกจะต้องสอดคล้องกับสถานการณ์การเรียนรู้ทั้งกระบวนการ
2.4.3. การเลือกสื่อควรเป็นไปตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้
2.4.4. การเลือกสื่อควรสอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียนและแบบการเรียน
2.4.5. การเลือกสื่อควรพิจารณาว่าสื่อที่ดีที่สุดที่สามารถทำให้บรรลุการเรียนรู้
2.4.6. สื่อเพียงชนิดเดียวไม่เพียงพอทำให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ได้
2.4.7. การเลือกสื่อจะต้องสอดคล้องกับหลักสูตร
2.4.8. การเลือกสื่อจะต้องช่วยกระตุ้นแรงจูงใจและความสนใจในการเรียนรู้
2.4.9. เป็นสื่อที่มีเนื้อหาที่มีความชัดเจนและภาษาอ่านเข้าใจง่าย
2.5. การใช้วิธีการ สื่อและวัสดุ (Utilize Method, Media and Materials)
2.5.1. 1. ก่อนการจัดการเรียนรู้
2.5.1.1. 1.1 ผู้สอนและผู้เรียนควรมีการศึกษาวิธีการใช้งานสื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ให้เกิดความชำนาญ
2.5.1.2. 1.2 ตรวจสอบความพร้อมของสื่อว่าสามารถใช้งานได้จริง
2.5.1.3. 1.3 เก็บสื่อและวัสดุการเรียนให้ง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน
2.5.1.4. 1.4 กรณีใช้สื่อที่มีชื่อเสียงประกอบหรือวีดิทัศน์ ควรทดสอบว่าสามารถแสดงผลได้ตามที่ต้องการ หรือไม่
2.5.1.5. 1.5 ตรวจสอบให้แน่ใจว่าสื่อต่างๆ นั้นผู้เรียนสามารถมองเห็นหรือได้ยินอย่างทั่วถึงในชั้นเรียน
2.5.2. 2. ระหว่างการจัดการเรียนร
2.5.2.1. 2.1 มีเน้นสาระสำคัญความคิดรวบยอดที่ต้องการให้ผู้เรียนใส่ใจด้วยการเขียนบนกระดานหรือ เน้นในสื่อ
2.5.3. 3. หลังการจัดการเรียนร
2.5.3.1. 3.1 ปฏิบัติตามที่กำหนดในบทเรียนด้วยการอภิปราย การทำโครงงานหรือกิจกรรมอื่นๆ ที่ให้ผู้เรียนได้นำความรู้ไปใช้
2.6. การตอบสนองที่มาจากผู้เรียน (Require Learner Response)
2.6.1. มุ่งเน้นที่การตอบสนองที่มาจากกระบวนการภายใน (Mental Process)และการตอบสนองที่แสดงออกมา(Performance)
2.6.1.1. ขั้นตอนที่ 1 ขั้นเริ่มต้นกิจกรรมและการถามปัญหา
2.6.1.2. ขั้นตอนที่ 2 ขั้นดำเนินตามกิจกรรมและการแก้ปัญหา
2.6.1.3. ขั้นตอนที่ 3 ขั้นลงมือปฏิบัติกิจกรรม
2.6.1.4. ขั้นตอนที่ 4 ขั้นการพัฒนาทักษะสู่การปฏิบัติ
2.7. การประเมินผลและการปรับ (Evaluation and revise)
2.7.1. การประเมินความสามารถของผู้เรียน (Evaluate Student Performance)
2.7.2. การประเมินองค์ประกอบของสื่อการเรียนรู้ (Evaluate Media Components)
2.7.3. การประเมินความสามารถของผู้สอน (Evaluate instructor Performance)