บทที่ 2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับ นวัตกรรมเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับ นวัตกรรมเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา by Mind Map: บทที่ 2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับ นวัตกรรมเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

1. มุมมองจิตวิทยาการเรียนรู้ กลุ่มพุทธิปัญญานิยม

1.1. ความรู้ความเข้าใจ หรือการรู้คิดของมนุษย์

1.2. การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้ง ทางด้านปริมาณและด้านคุณภาพ

1.3. พัฒนามาตั้งแต่ปี 1950, 1960 และ 1970เป็นต้นมา

1.4. รากฐานของทฤษฎีนั้นมาจากการ ศึกษาวิจัยการเรียนรู้ของมนุษย์ในห้องทดลองที่ถูกก าหนดขึ้นภายใต้เงื่ อนไขและ การควบคุมสิ่งแวดล้อมต่างๆ

1.4.1. เพียเจต์

1.4.2. บรูเนอร์

1.4.3. ออซูเบล

1.5. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาตามแนวพุทธิปัญญานิยม

1.5.1. การออกแบบเทคโนโลยีและสื่อตามแนวคิดนี้ จะอยู่บนนิยามเกี่ยวกับการเรียนรู้ ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียน ทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพ

1.5.2. การเรียนรู้เป็นผลมาจากการจัดระเบียบหรือจัดหมวดหมู่ของความจำลงสู่ โครงสร้างทางปัญญา เรียกว่า Mental Models

1.6. การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม

1.6.1. มุ่งเน้นพฤติกรรมที่สังเกตได้เท่านั้น

1.6.2. กลุ่มพุทธิปัญญานิยมให้ความสำคัญในการศึกษาเกี่ยวกับ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่ง เร้าภายนอก (ส่งผ่านโดยสื่อต่างๆ) กับสิ่งเร้าภายใน

1.7. ลักษณะที่สำคัญของการออกแบบสื่อตามแนวพุทธิปัญญา

1.7.1. 1. การจัดระเบียบสารสนเทศใหม่และสร้างโครงสร้างสารสนเทศให้กับผู้เรียน

1.7.2. 2. การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศใหม่กับความรู้เดิม

1.7.3. 3. ใช้เทคนิคเพื่อแนะนำและสนับสนุนให้ผู้เรียนใส่ใจ

2. มุมมองจิตวิทยาการเรียนรู้ กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์

2.1. การเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

2.1.1. เกิดขึ้นมาใช้ช่วง ค.ศ..1980 และ 1990

2.1.2. รากฐานของ หลักทฤษฎีนั้นมาจากการศึกษาวิจัยการเรียนรู้ของมนุษย์ในสภาพจริง

2.1.3. บทบาทของผู้เรียนคือกระทำการเรียนรู้ ส่วนบทบาทของนักออกแบบสื่อคือ ผู้สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับ เนื้อหา สื่อ ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ทั้งหลายที่อยู่รอบตัวผู้เรียน

2.1.4. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา(Cognitive Constructivism)

2.1.4.1. รากฐานมาจากแนวคิดของเพียเจต์

2.1.4.1.1. มีหลักสำคัญว่ามนุษย์เราต้องสร้าง

2.1.5. ซึ่งประสบการณ์เหล่านี้ จะกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้าง โครงสร้างทางปัญญา

2.1.6. โครงสร้างทางปัญญาเหล่านี้ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (Change) ขยาย(Enlarge) และซับซ้อนขึ้นได้ โดยผ่านทางกระบวนการดูดซึม (Assimilation) และการปรับเปลี่ยน(Accommodation)

2.1.7. บทบาทของครูผู้สอน

2.1.7.1. การจัดเตรียมสิ่งแวดล้อมที่ให้ผู้เรียนได้สำรวจ ค้นหา ตามธรรมชาติ

2.1.8. บทบาทของผู้เรียน

2.1.8.1. กระทำการเรียนรู้

2.2. เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

2.2.1. การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ จะมีพื้นฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่ให้ นิยามเกี่ยวกับการเรียนรู้ไว้ว่าเป็นการสร้างความรู้

2.3. ลักษณะที่สำคัญของการออกแบบสื่อตามแนวพุทธิปัญญา

2.3.1. 1. นำเสนอและส่งเสริมให้ผู้เรียนเห็นมุมมองและตัวแทนความคิดรวบยอดของ เนื้อหาที่หลากหลาย

2.3.2. 2. เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการเรียนได้มาจากผู้เรียนหรือการเจรจา ร่วมกับผู้สอน

2.3.3. 3. ผู้สอนให้บริการในบทบาทของผู้แนะนำผู้กำกับ โค้ช และผู้อำนวยความ สะดวกในการเรียน

2.3.4. 4. กิจกรรม โอกาส เครื่องมือและสิ่งแวดล้อมต่างๆ จัดมาเพื่อส่งเสริมการกำกับ วิธีการเรียนรู้

2.3.5. 5. ผู้เรียนต้องมีบทบาทสำคัญในการใช้สื่อ และควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเอง

2.3.6. 6. สถานการณ์เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม ทักษะ เนื้อหาและภารกิจ จะเกี่ยวข้องกับสภาพ จริง และสอดคล้องกับบริบทจริงที่มีความซับซ้อน

3. มุมมองจิตวิทยาการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม

3.1. การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม

3.1.1. ในแนวคิดในกลุ่มนี้ จะเชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่ อผู้เรียนสร้างความเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทำให้มี การแสดงพฤติกรรมนั้นถี่มากขึ้น

3.1.2. ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงครึ่งแรกของ ศตวรรษที่ 20

3.1.3. การทดลองของพาฟลอฟ(Povlov)

3.1.4. นิยามของการเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม จึงหมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเป็นผลเนื่ องมาจากการเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง จะมุ่งเน้นเพียง เฉพาะพฤติกรรมที่สามารถวัดและสังเกตได้เท่านั้น

3.1.5. บทบาทของผู้เรียน

3.1.5.1. เป็นผู้ที่รอรับ (Passively) ความรู้ ตลอดจนสิ่งเร้าต่างๆ ที่จัดให้ในขณะที่เรียนรู้ เช่น รางวัล การลงโทษ หรือแม้แต่แรงเสริม เป็นต้น

3.1.6. บทบาทของครู

3.1.6.1. เป็นผู้บริหารจัดการสิ่งเร้าที่จะให้ผู้เรียน เช่น การ ทำแบบฝึกหัดซ้ำๆ (Drill and practice) การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นต้น

3.2. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาตามแนวพฤติกรรมนิยม

3.2.1. มุ่งเน้นการออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจำความรู้ให้ได้ในปริมาณมากที่สุด

3.2.2. บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ

3.2.3. บทบาทของครูจะเป็นผู้นำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เช่น ตาราเรียน การบรรยาย

3.2.4. ครูจะสร้างสิ่งแวดล้อมที่ผู้เรียนจะต้องดูดซับข้อมูลสารสนเทศจำนวนมาก เช่น บทเรียนโปรแกรม ชุดการสอน และบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

3.3. ลักษณะที่สำคัญของการออกแบบสื่อตามแนวพฤติกรรมนิยม

3.3.1. 1. ระบุวัตถุประสงค์การสอนที่ชัดเจนโดยกำหนดพฤติกรรมเฉพาะที่ต้องการ ให้เกิดขึ้นหลังจากการเรียนรู้นั้นประสบความสำเร็จ ซึ่งวัตถุประสงค์จะเป็น ตัวชี้วัดที่สำคัญว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

3.3.2. 2. การสอนในแต่ละขั้นตอน นำไปสู่การเรียนแบบรอบรู้ (Mastery learning) ในหน่วยการสอนรวม

3.3.3. 3. ให้ผู้เรียนได้เรียนไปตามอัตราการเรียนรู้ของตนเอง

3.3.4. 4. ดำเนินการสอนไปตามโปรแกรมหรือลำดับขั้นที่กำหนดไว้ จากง่ายไปยาก โดยแบ่งเนื้ อหาออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่ อให้ผู้เรียนสามารถจดจำได้ง่าย

3.3.5. 5. การออกแบบการเรียนเป็นลักษณะเชิงเส้นที่เป็นลำดับขั้นตอน

3.3.6. 6. การให้ผลตอบกลับทันทีทันใด เมื่อผู้เรียนกระทำพฤติกรรมนั้นเสร็จจะได้รับ ผลกลับพร้อมทั้งแรงเสริมทันทีทันใดในขณะที่เรียนรู้