ตลาดและร้านค้าปลีกของญี่ปุ่นในกระเเสความเปล่ยนแปลง

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ตลาดและร้านค้าปลีกของญี่ปุ่นในกระเเสความเปล่ยนแปลง by Mind Map: ตลาดและร้านค้าปลีกของญี่ปุ่นในกระเเสความเปล่ยนแปลง

1. ร้านค้าปลีกที่ได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวและการเข้ามาของห้างต่างชาติ

1.1. ช่วงก่อน 1990 : ยุคการทดลองตลาด คือ ต่างชาติเข้ามาในลักษณะร้านเดี่ยว มักเป็นการร่วมทุนกับบริษัทญี่ปุ่น สินค้าที่ขายจำกัดอยู่ที่ของฟุ่มเฟื่อย แบรนด์เนม การเข้ามาในยุคนี้ยังไม่ถือว่าเป็นคู่เเข่งของร้นค้าปลีกญี่ปุ่น

1.2. ช่วง 1990 : ยุคแห่งร้านเฉพาะอย่างและร้านประชันชนิด ผลจากภาวะฟองสบู่แตก พฤติกรรมของผู้บริโภคก็เปลี่ยนไป กลายเป็นการเลือกซื้อสินค้าที่มีความจำเป็นจริงๆ โดยมากอยู่ในลักษณะร้านเฉพาะอย่าง ช่วงกลางทศวรรษ เริ่มมีร้านประชันชนิดปรากฏมากขึ้น ร้านที่โดดเด่นจนถือเป็นตำนานของห้างต่างชาติในญี่ปุ่นเลย คือ ร้านขายของเด็กเล่นอย่าง Toy R us ลักษณธเด่นของร้านคือ การใช้ระบบรวบรวมคำสั่งซื้อจากหลายสาขาและจัดซื้อคราวละมากๆ ทำให้ราคาถูก แม้จะนำความเปลี่ยนแปลงมาสู่ตลาดค้าปลีกของญี่ปุ่น แต่ไม่ได้ส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการร้านค้าปลีกเท่าไรนัก

1.3. ตั้งแต่ปี 2000 : ยุคของห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ การเข้ามาของห้างค้าปลีกข้ามชาติ เช่น ห้างคาร์ฟูร์และห้างcostco เป็นห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ ส่งผลกระทบต่อผู้ค้าปลีกเป็นอย่างมาก

1.3.1. นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในตลาดญี่ปุ่นดังนี้

1.3.1.1. ผู้ค้าปลีกในปรเทศเริ่มมีเเนวโน้มหันมาซื้อสินค้าตรงจากผู้ผลิตมากขึ้น เป็นผลให้ร้านค้าส่งได้รับผลกระทบ แล้วหันมาขายปลีกมากขึ้น

1.3.1.2. จำนวนห้างค้าปลีกขนาดใหญ่แทบชานเมื่องมีมากขึ้น และร้านค้าย่อยจำนวนมากหันเข้าไปเช่าพื้นที่ในห้างแบบช็อปปิ้ง มอลล์ มากขึ้น ส่งผลให้ร้านค้าย่อยและผู้บริโภคหนีหายจากย่านการค้าแบบเดิม しょうてんがい

2. พฤติกกรมผู้บริโภคชาวญี่ปุ่นในปัจจุบัน

2.1. สถานที่ท่ีซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคในชีวิตประจำวัน

2.1.1. อันดับ1 ซุปเปอร์มาร์เก็ต

2.1.2. อันดับ2 ร้านสะดวกซื้อ

2.1.3. อันดับ3 ร้านขายยา

2.1.4. อันดับ4 ร้านค้าสหกรณ์ที่มีบริการส่งถึงบ้าน

2.1.5. อันดับ5 ร้านค้าให้ส่วนลด

2.2. ปัจจัยในการเลือกซื้อสินค้าอุปโ๓คบริโภค

2.2.1. อันดับ1 เดินทางจากที่ทำงานหรือที่บ้านสะดวก

2.2.2. อันดับ2 มีสินค้าให้เลือกสรรมากมาย

2.2.3. อันดับ3 ราคาถูก

2.2.4. อันดับ4 มีที่จอดรถ

2.2.5. อันดับ5 สินค้ามีความน่าเชื่อถือ

2.3. ข้อดีของการซื้อสินค้าผ่านอินเทอร์เฯ็ต

2.3.1. อันดับ1 ไม่จำเป็นต้องออกไปข้างนอก

2.3.2. อันดับ2 ไม่ต้องถือของหนักๆ

2.3.3. อันดับ3 สามารถซื้อของได้ 24 ชม

2.4. ความถี่ในการใช้บริการร้านสะดวกซื้อ

2.4.1. คนส่วนใหญ่ใช้บริการร้านสะดวกซื้อ 2-3 ครั้งสัปดาห์

2.4.2. รองลงมา สัปดาห์ละ 1 ครั้ง

2.4.3. ประเด็นที่น่าสนใจ

2.4.3.1. เมื่อพิจารณาตามช่วงอายุ ใน1เดือนไปใช้บริการไม่เกิน1ครั้ง และ แทบไม่ได้ไปร้านสะดวกซื้อเลย ส่วนใหญ่เป็นคนอายุมากกว่า 60 ปี

2.4.3.1.1. ประเด็นดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึง พฤติกรรมการบริโภคที่แตกต่างกันระหว่างคนรุ่นเก่าและคนรุ่นใหม่อย่างชัดเจน

2.5. สินค้าที่นิยมซื้อในร้านสะดวกซื้อ

2.5.1. ข้าวกล่อง ข้าวปั้น

2.5.2. ขนมปัง แซนวิช

2.5.3. เครื่องดื่ม (ไม่รวมเหล้า)

2.6. สินค้าที่นิยมซื้อในซุปเปอร์มาร์เก็ต

2.6.1. อาหารสด

2.6.2. บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ซุปแบบกึ่งสำเณ้จรูป

2.6.3. กับข้าว(แผนกขายอาหารที่ปรุงสำเร็จ)

3. ประเภทของธุรกิจค้าปลีก

3.1. ร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม

3.1.1. ลักษณะร้านเป็นห้องแถว พื้นที่ไม่มาก สินค้าส่วนใหญ่เป็นสินค้าอุปโภคบริโภค ดำเนินกิจการเจ้าของคนเดียว หรือกิจการครอบครัว ลูกค้าเกือบทั้งหมดอยู่บริเวณใกล้เคียงกับร้าน

3.1.1.1. ร้านค้าที่จัดอยู่ในประเภทนี้คือ

3.1.1.1.1. ร้านค้าทั่วไป

3.1.1.1.2. ร้านขายของชำ หรือที่เรียกว่า ร้านโชห่วย

3.2. ร้านค้าปลีกสมัยใหม่

3.2.1. ห้างสรรพสินค้า

3.2.2. ซุปเปอร์มาร์เก็ต สินค้าอุปโภคบริโภในชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะอาหารสด เน้นบริการตนเอง

3.2.2.1. แบบที่ตั้งอยู่ในห้างสรรพสินค้า TOP

3.2.2.2. แบบที่แยกออกจากห้างสรรพสินค้า ฟู้ดไลออนส์

3.2.3. ร้านค้าให้ส่วนลด เน้นการบริหารโดยต้นทุนต่ำ กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย คือ ผู้มีรายได้กลางถึงต่ำ

3.2.3.1. ซุปเปอร์เซ็นเตอร์ ขายทุกอย่าง บิ๊กซี

3.2.3.2. ไฮเปอร์มาเก็ต ใกล้เคียงกับซุปเปอร์เซ็นเตอร์ แต่เน้นอาหารสดมากกกว่า Carrefour

3.2.3.3. ร้านค้าประชันชนิด เน้นจำหน่ายสินค้าเฉพาะสายผลิตภัณฑ์เดียว กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย คือ ลูกค้าที่สนใจสินค้าเฉพาะด้าน

3.2.4. ร้านค้าเฉพาะอย่าง ขายสินค้าจำนวนจำกัด อาจขายเฉพาะของที่มีลักษณะพิเศษจริงๆ watsons

3.2.5. ร้านสะดวกซื้อ เป็นร้านขายของชำผสมกับซุปเปอร์มาเก็ต กลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่เป็นคนที่ชอบความสะดวก ใกล้บ้าน ที่ทำงาน มักเปิด 24 ชม 7-Eleven Family Mart

3.2.6. ร้านค้างเงินสดและบริการตนเอง ร้านจำหน่ายสินค้าให้กับคนที่ต้องการซื้อไปขายต่อ makro

4. ธุรกิจขนาดเล็กของญี่ปุ่น

4.1. ธุรกิจขายปลีและขนส่ง อันดับหนึ่ง

4.2. หัตถอุตสาหกรรม อันดับสอง

4.3. การบริการส่วนบุคคล

5. ความสำคัญของธุรกิจขนาดเล็ก

5.1. ประการแรก การจ้างงานหรือการดูดซับเเรงงานจำนวนมาก

5.2. ประการที่สอง การเป็น sub-contractของบริษัทใหญ่ กลุ่มอุตสาหกรรมใหญ่จะแบ่งการผลิตของตนให้กับบริษัทเล็กๆ ทำให้เกิดการแข่งขันเพื่อให้ได้ส่วนแบ่งทางการตลาด เป็นผลให้สินค้ามีคุณภาพสูง และก่อให้เกิดการประดิษฐ์ คิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆให้แก่บริษัทใหญ่ๆมากมาย

6. ธุรกิจค้าปลีกของญี่ปุ่นในปัจจุบัน

6.1. ค่อนข้างมีลักษณะเฉพาะตัว

6.1.1. ประการแรก เป้นตลาดที่มีจำนวนร้านค้าขนาดเล็กจำนวนมหาศาล

6.1.2. ประการที่สอง การมรย่านร้านค้าしょうてんがい ซึ่งขายของอุปโภคบริโภคในชีวิตประจำวัน เป็นที่ซื้อสินค้าใกล้บ้านและช่วยให้ความสะดวกแก่แม่บ้าน คนที่ไม่มีรถยนต์ และผูสูงอายุให้เข้ามาจับจ่ายได้ง่ายขึ้น

6.1.3. ประการที่สาม ความสัมพันธ์รหว่างร้านค้าปลีกและผู้ผลิต ผู้ผลิตส่วนใหญ่มักรวบรวมร้านค้าย่อยให้เข้าไปเป็นร้านค้าในเครือข่ายของตนเองผ่านทางระบบการขายส่ง