1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ( Management Information System MIS )
1.1. เป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับผู้บิหารที่ต้องการ การประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้ประโยชน์มากกว่าการช่วยงานแบบต่อวัน MIS จึงมีความสามารถในการคำนวณเปรียบเทียบข้อมูล ซึ่งมีความหมายต่อการจัดการและการบริหารอย่างมาก
1.2. คุณสมบัติของระบบ MIS
1.2.1. ๑ . สนับสุนนการทำงานของระบบประมวลผลข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลรายวัน
1.2.2. ๒ . จะใช้ฐานข้อมูลที่ถูกรวมเข้าด้วยกันและสนับสุนนการทำงานของฝ่ายต่างๆในองค์กร
1.2.3. ๓ . จะช่วยให้ผู้บริหารระดับต้น ระดับกลาง ระดับสูงเรียกใช้ข้อมูลที่เป็นโครงสร้างได้ตามเวลาที่ต้องการ
1.2.4. ๔ . จะมีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับความต้องการข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงขององค์กร
1.2.5. ๕ . ต้องมีระบบรักษาความลับ ของข้อมูลและจำกัดการใช้งานของบุคคลเฉพาะผู้ที่เกียวข้องเท่านั้น
2. ระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจ( Decision Support System DSS)
2.1. เป็นระบบที่ทำหน้าที่จัดเตรียมสารสนเทศ เพื่อช่วยในการตัดสินใจ หากเป็นการใช้โดยผู้บริหารระดับสูง
2.2. คุณสมบัติของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
2.2.1. ๑.ช่วยผู้บริหารในกระบวนการตัดสินใจ
2.2.2. ๒. ถูกออกแบบมาให้สามารถเรียกใช้ ทั้งข้อมูลกึ่งแบบโครงสร้างและแบบไม่มีโครงสร้างที่แน่นอนได้
2.2.3. ๓. ต้องสามารถปรับให้เข้ากับความต้องการข่าวสารในสภาพต่างๆได้
2.2.4. ๔ . ต้องมีกลไกช่วยให้สามารถเรียกใช้ข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว
3. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร ( Executive Support System ESS)
3.1. ลักษณะของระบบ ESS
3.1.1. ๑ . ให้สารสนเทศที่มีประโยชน์ต่อการวางแผนกลยุทธ์
3.1.2. ๒ . ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน
3.1.3. ๓ . เชื่อมโยงกับแหล่งข้อมูลภายนอก สามารถเชื่อมโยงระหว่างสื่อหลายมิติ ( Hypermedia )
3.1.4. ๔ . พัฒนาเฉพาะสำหรับผู้บริหาร
3.1.5. ๕ . มีระบบรักษาความปลอดภัย
3.2. ขอจำกัดของระบบ ESS
3.2.1. ๑ . ข้อมูลและการนำเสนออาจไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริหาร
3.2.2. ๒ . ยากต่อการประเมินประโยชน์และผลตอบแทนที่องค์กรจะได้รับ
3.2.3. ๓ . ไม่ถูกพัฒนาให้ทำการประมวลที่ซับซ้อนหลากหลาย
3.2.4. ๔ . ยากต่อการรักษาความทันสมัยของข้อมูลและของระบบ
4. ระบบสำนักงาน อัตโนมัติ(Office Automation System OAS)
4.1. เป็นระบบที่ใช้งานร่วมกันและระบบการสื่อสารเชื่อมโยงกันเข้าด้วยกัน มีจุดมุ่งหมายให้เป็นระบบที่ไม่ใช้กระดาษแบ่งออกเป็น๒ ลักษณะคือ
4.1.1. ๑.รูปแบบของระบบงานพิมพ์และการประมวลผลทางอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่การสื่อสารด้วย ข้อความ รูปภาพ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โทรสาร หรือเสียงอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
4.1.2. ๒ . รูปแบบการประชุมทางไกลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นเทคนิคที่ทำให้กลุ่มคนทั่วโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ คล้ายการพูดกันโดยตรง เช่น การประชุมทางไกลแบบมีทั้งภาพและ
5. ระบบประมวลผลรายการ ( Transaction Processing System TPS )
5.1. เป็นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบันทึกและประมวลผลข้อมูลที่เกิดจาก ธุรกรรมหรือการปฏิบัติงานประจำ หรืองานขั้นพื้นฐานขององค์กร เช่น การซื้อขายสินค้า การบันทึกจำนวนวัสดุลงคลัง
6. ระบบปัญญาประดิษฐ์และระบบผู้เชี่ยวชาญ ( Artificial Intelligence System and Expert System )
6.1. ระบบผุ้เชี่ยวชาญเป็นระบบสารสนเทศประเภทหนึ่ง ที่นำวิทยาการของปัญญาประดิษฐ์เข้ามาใช้จัดการสารสนเทศ
6.1.1. ประโยชน์ของระบบผู็เชี่ยวชาญ
6.1.1.1. ๑ . ช่วยรักษาความรู้ที่อาจสูญเสียไป เมื่อเกิดการลาออกของพนักงานที่มีความเชี่ยวชาญ
6.1.1.2. ๒ . ช่วยทำให้ข้อมูลมีคุณภาพ และมีศักยภาพในการนำมาใช้งานได้อย่างทันท่วงทีเมื่อต้องการ
6.1.1.3. ๓ . ช่วยทำให้เกิดความคืดสร้างสรรค์แปลกใหม่
6.1.1.4. ๔ . ช่วยป้องกันไม่ให้เกิดภาวะที่อาจเกิดกับมนุษย์ เช่น ความเมื่อยล้า ความสับสนวุ่นวาย
6.1.1.5. ๕ . ใช้เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ ด้านการตลาด การลดต้นทุน และการปรับปรุงพัฒนาสินค้า