การละเล่น

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การละเล่น by Mind Map: การละเล่น

1. ความหมาย"การเล่น"

1.1. การกระทำเพื่อสนุกหรือผ่อนอารมณ์ หลังจากประกอบกิจประจำวันเเละการเล่นในเทศกาลท้องถิ่น งานมงคล/งานอวมงคล

2. ลักษณะของกิจกรรมบันเทิงที่จัดอยู่ในการละเล่น

2.1. การเเสดง

2.1.1. การเล่นในรูปเเบบการร้อง/ขับ/บรรเลง/ประกอบดนตรี

2.2. มหรสพ

2.2.1. การเล่นที่ฝ่ายบ้านเมืองเก็บค่าเเสดงเป็นเงินภาษีบำรุงเเผ่นดิน เช่น งิ้ว ละครไทย

2.3. กีฬาเเละนันทนาการ

2.3.1. การเล่นเพื่อความสนุกสนานตามเทศกาล

2.4. การละเล่นของเด็ก

2.4.1. มีการเล่นง่ายๆ มุ่งพัฒนาร่างกาย/จิตใจ

2.5. การละเล่นของผู้ใหญ่

2.5.1. มีความซับซ้อน มุ่งเเสดงเพื่อบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์/เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์/ความรื่นเริง/เพื่อความครึกครื้นตามประเพณีเทศกาลเเละยามว่าง

3. ความเป็นมาของการละเล่นพื้นบ้านไทย

3.1. สมัยสุโขทัย

3.1.1. มีความเป็นมาตั้งเเต่สมัยดึกดำบรรพ์ จากความในศิลาจารึก "...ใครจักมักเล่น เล่น..."

3.1.2. ในตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์''...หมู่นางในก็ได้ดูชุดชักว่าวหง่าวฟังสำเนียง...''

3.2. สมัยกรุงศรีอยุธยา

3.2.1. การละเล่น ลิงชิงหลัก, เล่นปลาลงอวน

3.3. สมัยรัตนโกสินทร์

3.3.1. การละเล่น ตะกร้อ, จ้องเต, ขี่ม้าส่งเมือง

3.4. สมัยปัจจุบัน

3.4.1. เด็กผู้หญิง เล่นตุ๊กตากระดาษ, วิดีโอเกมส์

3.4.2. เด็กผู้ชาย เล่นปืน, จรวด, เกมส์กด

3.4.3. การละเล่นสมัยก่อนค่อยๆเลือนหายไป เช่น งูกินหาง, รีๆข้าวสาร ฯลฯ

4. เด็กเเต่ละภาคเล่นเหมือนกันหรือไม่

4.1. การละเล่นเเต่ละภาคจะเเตกต่างกันไปบ้าง เรื่องบทร้อง กติกาเเละอุปกรณ์การละเล่น

4.2. โดยรวมลักษณะการเล่นจะคล้ายคลึงกัน

5. ประเภทของการละเล่น

5.1. การละเล่นกลางเเจ้ง

5.1.1. มีบทร้องประกอบ

5.1.1.1. โพงพาง, มอญซ่อนผ้า, รีรีข้าวสาร

5.1.2. ไม่มีบทร้องประกอบ

5.1.2.1. ล้อต๊อก, ปลาหมอ, เสือกันวัว

5.2. การละเล่นในร่ม

5.2.1. มีบทร้องประกอบ

5.2.1.1. โยกเยก, จับปูดำขย้ำปูนา

5.2.2. ไม่มีบทร้องประกอบ

5.2.2.1. หมากเก็บ, อีเขียดอีเขียน

5.2.3. การเลียนเเบบผู้ใหญ่

5.2.3.1. พ่อเเม่, เล่นเเต่งงาน

5.3. การละเล่นพื้นเมือง

5.3.1. การเล่นเพลงเเละระบำรำฟ้อน

5.3.2. การเล่นเข้าผี

5.3.2.1. ลิงลม, ผีปู่ย่า

5.3.3. กีฬาเเละนันทนาการ

5.3.3.1. มวยไทย, ตะกร้อ

5.4. การละเล่นของหลวง

5.4.1. กุลาตีไม้

5.4.1.1. ในสมัยโบราณคงจะเล่นคู่กันกับ "โมงครุ่ม" เพราะการแต่งตัวเหมือนกัน

5.4.2. กระอั้วเเทงควาย

5.4.2.1. เป็นการเล่นของทวายหรือของพม่า มอญ

5.4.2.2. เป็นการเล่นสนุกๆให้เกิดความขบขัน

5.4.3. ประเลง

5.4.3.1. เป็นการละเล่นของหลวงที่เก่าแก่มาก

5.4.3.2. เป็นวิธีหนึ่งที่เรียกว่า ปัดรังควาน

5.4.4. ระเบ็ง

5.4.4.1. เป็นการเล่นในชุดพระราชพิธีที่แปลกกว่าอย่างอื่น

5.4.4.2. แสดงเป็นเรื่องมาจากเทพนิยาย

5.4.5. โมงครุ่ม (มงครุ่ม)

5.4.5.1. เป็นการละเล่นมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา

5.4.6. เเทงวิสัย

5.4.6.1. เป็นการละเล่นที่ใช้เวลาไม่นานนัก

6. ความสำคัญ

6.1. ผ่อนคลายความเครียดจากงาน

6.2. เสริมสร้างพลานามัย

6.3. ประเทืองปัญญา

6.4. ช่วยให้อารมณ์เเจ่มใส

6.5. ฝึกจิตใจให้งดงาม

6.6. ช่วยสร้างคนดีให้สังคม

7. การละเล่น

7.1. การละเล่นของไทยสมัยก่อนมีวิธีการเล่นที่สนุกสนานเเละหลากหลาย

7.2. การเล่นพื้นบ้านเป็นกิจกรรมการเล่นของสังคม

7.3. เป็นกิจกรรมนันทนาการ

7.4. มีรากฐานจากความเป็นจริง ปฎิบัติสืบทอดจากอดีตสู่ปัจจุบัน