เศรษฐกิจไทย
by วิรัญชนา ยองขอด
1. ยุคเปิดประตูการค้าเสรี
1.1. ทำสนธิสัญญาเบาริ่ง
1.2. ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม
1.3. มีการส่งสินค้าไปต่างประเทศ
2. ยุคศักดิ์นา
2.1. เป็นชุมชนเกษตรเล็กๆ ระบบผลิตเพื่อกินเองใช้เอง
2.2. มีการเเลกเปลี่ยนผลผลิตกับหมู่บ้านอื่น
2.3. ไม่มีการนำผลผลิตส่วนเกินไปลงทุนขยายการผลิต
2.4. ไม่มีการเเบ่งงานกันทำตามความชำนาญ
3. ลักษณะเศรษฐกิจไทย
3.1. ระบบเศรษฐกิจเสรีแบบเปิด
3.2. ระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ์
3.3. ระบบเศรษฐกิจเจริญเติบโตเเบบไม่สมดุล
3.4. ระบบเศรษฐกิจพึ่งพิงการส่งออกและนำเข้า
3.5. ระบบเศรษฐกิจพึ่งพิงเงินทุนและเทคโนโลยีจากต่างประเทศ
3.6. ระบบเศรษฐกิจการกระจายรายได้ที่ไม่เป็นธรรม
4. การพัฒนาทุนนิยม
4.1. ปรีดี พนมยงค์ มีแนวคิดแบบสังคมนิยมและสหกรณ์
4.2. จอมพล ป.พิบูลสงคราม มีแนวคิดนโยบายชาตินิยมและทุนนิยม
5. ยุคเผด็จการทาร
5.1. เศรษฐกิจทุนนิยมอุตสาหกรรม
5.2. เพิ่มการศึกษาขยายตัวสื่อมวลชน
6. ยุคนักธุรกิจและชนชั้นกลาง
6.1. เปลี่ยนแปลงจากทุนนิยมขุนนางเป็นทุนนิยมที่นักธุรกิจ
6.2. นักศึกษาปัญญาชนเสนอเเนวคิดพัฒนาสังคมนิยม
6.3. เตรียมการพัฒนาเศรษฐกิจไทยเป็นส่วนหนึ่งของทุนนิยมโลก
7. การเติบโตเเบบเศรษฐกิจฟองสบู่
7.1. เศรษฐกิจเจริญเติบโตสูงในภาคอุตสาหกรรม
7.2. ในภาคการเกษตรตกต่ำ
7.3. รัฐบาลส่งเสริมลงทุนกับต่างชาติ
7.4. เกิดการเติบโตของเศรษฐกิจแบบฉาบฉายหรือเศรษฐกิจฟองสบู่
8. วิกฤตเศรษฐกิจตกต่ำ
8.1. ๑ ธุรกิจเอกชน กู้เงินลงทุนธุรกิจสูงขึ้น แต่ไม่สามารถหาเงินมาใช้หนี้ได้
8.2. ๒ ธนาคารและบริษัท ขยายสินเชื่ออัตราสูง สินเชื่อด้อยคุณภาพหมดความน่าเชื่อถือ
8.3. ๓ พัฒนาไม่เกิดการกระจาย
8.4. ๔ พ.ศ ๒๕๔๐ ต่างประเทศเริ่มขาดความเชื่อถือความสามารถ ในการชำระหนี้ของไทย