แนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดชนชาติไทย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
แนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดชนชาติไทย by Mind Map: แนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดชนชาติไทย

1. ถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในประเทศไทยปัจจุบัน

1.1. ผู้เสนอความคิด

1.1.1. ดร.ควอริตซ์ เวลส์ ( Quaritch Wales )

1.1.2. นายแพทย์สุด แสงวิเชียร

1.1.3. ศรีศักร วัลลิโภดม

1.1.4. สุจิตต์ วงษ์เทศ

1.2. หลักฐานที่ใช้ยืนยัน

1.2.1. หลักฐานทางโบราณคดี

1.2.2. ลักฐานทางประวัติศาสตร์

1.3. สรุป

1.3.1. แนวความคิดนี้ปัจจุบัน ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่ามีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใดและยังไม่เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางนัก

2. ถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในคาบสมุทรมลายูและหมู่เกาะอินโดนีเวีย

2.1. ผู้เสนอความคิด

2.1.1. รูธ เบเนดิกต์ ( Ruth Benedict )

2.1.2. นายแพทย์สมศักดิ์ พันธุ์สมบุญ

2.2. หลักฐานที่ใช้ยืนยัน

2.2.1. ข้อมูลทางด้านมานุษยวิทยา

2.2.2. หลักฐานทางการแพทย์ด้านพันธุศาสตร์

2.2.3. การตรวจสอบกลุ่มเลือดและรหัสพันธุกรรม

2.3. สรุป

2.3.1. แนวคิดนี้ไม่เป็นที่ยอมรับ โดยมีเหตุผลและหลักฐานโต้แย้ง

2.3.2. ไม่มีหลักฐานทางภาษาศาสตร์และประวัติศาสตร์สนับสนุน

3. ถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในบริเวณตอนใต้ของจีน

3.1. ผู้เสนอความคิด

3.1.1. อาร์ซิยอลด์ รสส์คอนคูน ( Archibale Ross Colqhoun )

3.1.2. พระยาประชากิจกรจักร พันตรี เอช. อาร์. เดวีส์ ( H. R. Davies )

3.1.3. วิลเฮล์ม เครดเนอร์ ( Wilhelm Credner )

3.1.4. ศาสตราจารย์วิลเลียม เจ เกดนีย์ ( William J. Gedney )

3.1.5. ศาสตราจารย์ขจร สุขพานิช

3.1.6. ศาสตราจารย์เจียงอิ้งเหลียง

3.1.7. ศาสตราจารย์เฉินหลวี่ฟ่าน

3.2. หลักฐานที่ใช้ยืนยัน

3.2.1. หลักฐานทางด้านมานุษยวิทยากับหลักฐานทางด้านภาษาศาสตร์

3.2.2. หลักฐานที่ได้มาจากการศึกษาการตั้งถิ่นฐาน

3.3. สรุป

3.3.1. แนวคิดนี้เป็นแนวคิดที่เป็นที่มีหลักฐานทางโบราณคดี

3.3.2. ประวัติศาสตร์ นิรุกติศาสตร์ สนับสนุน จึงเป็นแนวคิดที่เป็นที่ยอมรับมากที่สุดร่วมกันในหมู่นักวิชาการ

4. ถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในบริเวณตอนกลางของจีน

4.1. ผู้เสนอความคิด

4.1.1. ศาสตราจารย์แตเรียง เดอ ลาคูเปอรี ( Terrien de Lacouperie )

4.1.2. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ

4.1.3. หลวงวิจิตรวาทการ ( กิมเหลียง วัฒนปฤดา )

4.1.4. พระบริหารเทพธานี

4.1.5. พระยาอนุมานราชธน ( ยง เสถียรโกเศศ )

4.2. หลักฐานที่ใช้ยืนยัน

4.2.1. หลักฐานประเภทภาษาศาสตร์

4.2.2. จากการค้นพบทางโบราณคดีที่หมู่บ้านซานซิงตุย มณฑลซื่อชน พ.ศ. 2519

4.3. สรุป

4.3.1. แนวความคิดนี้ไม่ได้รับการยอมรับ เพราะทาง แถบบริเวณเทือกเขาอัลไตของเอเชียกลางนั้นเป็นเขตแห้งแล้ง

4.3.2. อากาศมีความหนาวเย็น และถ้าอพยพโยกย้ายลงมาก็ต้องผ่านทะเลทรายที่กว้างใหญ่และทุรกันดารมาก

4.3.3. จึงไม่เหมาะสำหรับจะเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์

5. ชนชาติไทยเป็นเชื้อสายมองโกล มีถิ่นเดิมอยู่แถบเทือกเขาอัลไต

5.1. ผู้เสนอความคิด

5.1.1. ดร.วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์ ( William Clifton Dodd )

5.1.2. ขุนวิจิตรมาตรา ( รองอำมาตย์โทสง่า กาญจนาคพันธ์ )

5.2. หลักฐานที่ใช้ยืนยัน

5.2.1. หลักฐาน เอกสารของจีน พิจารณาความคล้ายคลึงด้านภาษาและขนบธรรมเนียมประเพณี ว่ามีความคล้ายคลึงกันระหว่างชนกลุ่มน้อยในไทยกับจีน

5.2.2. หลักฐานทางด้านภาษาจากการตีความคำบางคำในท้องถิ่น

5.3. สรุป

5.3.1. หลักฐานจดหมายเหตุของจีนเป็นจำนวนมาก ปรากฏว่าสมมติฐานดังกล่าวไม่น่าจะเป็นไปได้

5.3.2. ทำให้แนวความคิดที่ว่าคนไทยมี ีถิ่นฐานเดิมอยู่บริเวณมณฑลเสฉวนของจีน ไม่ได้รับการยอมรับ