1. มีหลักการความถูกต้อง คุณธรรม จริยธรรม เป็นทั้งข้อบังคับให้ทำและข้อห้าม
2. การจัดระเบียบทางสังคม
2.1. ค่านิยม
2.1.1. คือ แบบอย่างพฤติกรรมที่สังคมเห็นว่ามีคุณค่า ควรยึดถือปฏิบัติ อาจเป็นสิ่งดีหรือไม่ดีก็ได้
2.2. บรรทัดฐาน
2.2.1. วิถีประชา
2.2.1.1. ความเคยชิน ชาวบ้านปฏิบัติโดยทั่วไป เช่น คนไทยกินข้าวด้วยช้อน หากใช้ส้อมก็จะถูกมองว่าแปลกไป
2.2.1.2. หากฝ่าฝืน จะถูกมองแปลก ๆ ลงโทษไม่รุนแรง
2.2.2. จารีต
2.2.2.1. หน้าที่ตามสถานภาพ
2.2.2.2. หากฝ่าฝืน จะถูกลงโทษรุนแรง ขับไล่ออกจากสังคม รุมประนาม ประชาทัณฑ์
2.2.3. กฎหมาย
2.2.3.1. ข้อบังคับกำหนดโดยรัฐเพื่อควบคุมคน
2.2.3.2. หากฝ่าฝืน จะถูกลงโทษตามกฎหมาย
2.2.4. บังคับให้สมาชิกปฏิบัติมากขึ้น
2.3. บทบาท
3. ความหมาย : ส่วนประกอบของสังคมที่เกี่ยวกับแบบแผนความสัมพันธ์ของคนและกลุ่มสังคม
4. เช่น ลูกต้องเชื่อฟังพ่อแม่ หากเถียงจะมองว่าก้าวร้าว, หญิงชายรักกันต้องสู่ขอกัน ไม่หนีตามกันไป , ชาวมุสลิมห้ามดื่มสุรา , จรรยาบรรณวิชาชีพต่าง ๆ
5. การควบคุมทางสังคม คือ วิธีการที่สังคมใช้ควบคุมพฤติกรรมสมาชิกให้เป็นไปแนวเดียวกัน
5.1. ให้รางวัลคนทำดี
5.2. ลงโทษคนทำผิด
5.2.1. ลงโทษแบบเป็นทางการ เช่น กฎหมาย
5.2.2. ลงโทษแบบไม่เป็นทางการ เช่น ทำผิดจารีต ผิดวิถีประชา
6. ได้มาแต่กำเนิด
7. สถานภาพ : ตำแหน่งของบุคคล
7.1. ได้มาภายหลัง
8. โครงสร้างทางสังคม
8.1. สถาบันทางสังคม
8.1.1. องค์ประกอบสถาบัน
8.1.1.1. กลุ่มคนที่เป็นตัวแทน ทำหน้าที่ดำเนินกิจกรรมตามสถานภาพ บทบาท
8.1.1.2. สถานที่ อุปกรณ์ สัญลักษณ์ ที่สะท้อนลักษณะสถาบัน
8.1.1.3. แบบแผนการปฏิบัติ หรือ บรรทัดฐานของสถาบัน
8.1.1.4. หน้าที่ คือ ภาระผูกพันที่บุคคลต้องทำและเป้าหมายสถาบัน
8.1.2. สถานบันการเมืองการปกครอง
8.1.3. ประเภทสถาบันพื้นฐาน
8.1.3.1. สถาบันครอบครัว
8.1.3.2. สถาบันการศึกษา
8.1.3.3. สถาบันเศรษฐกิจ
8.1.3.4. สถาบันศาสนา
8.1.3.5. สถาบันสื่อสารมวลชน
8.1.3.6. สถาบันนันทนาการ
9. การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
9.1. ความหมาย แบบแผนลักษณะ "ระบบความสัมพันธ์" ของคนในสังคมเปลี่ยนแปลงไป
9.1.1. เช่น ระบบความสัมพันธ์ครอบครัวเปลี่ยน
9.1.2. เช่น ประชากรเพิ่มขึ้นทำให้ชุมชนที่เคยพึ่งพากันอย่างใกล้ชิด กลับห่างเหินกันมากขึ้น
9.1.3. เช่น วิถีการดำเนินชีวิตเปลี่ยน ความคิด ความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรม สิ่งประดิษฐ์ เปลี่ยนแปลง
9.2. ไม่มีสังคมไหนไม่มีเปลี่ยนแปลง ถ้าสังคมที่ไม่ติดต่อใครเลย อาจเปลี่ยนแปลงน้อย แต่สังคมเปิดแบบไทย ติดต่อค้าขาย สัมพันธ์กับประเทศอื่นก็เปลี่ยแปลงได้ง่าย
9.3. สาเหตุการเปลี่ยนแปลง
9.3.1. ปัจจัยภายใน
9.3.1.1. สิ่งแวดล้อมกายภาพเปลี่ยน
9.3.1.2. จำนวนประชาการเปลี่ยน
9.3.2. ปัจจัยภายนอก
9.3.2.1. สังคมติดต่อกับกลุ่มอื่น
9.3.2.2. สังคมมีการแข่งขันต้องพัฒนา
9.3.2.3. เทคโนโลยี
9.3.2.4. เศรษฐกิจ สังคม ภายใต้ระบบทุนนิยมต้องแข่งขัน
10. เช่น เพศ (ชาย หญิง เพศทางเลือก) เชื้อชาติ (ไทย ลาว พม่า ฯลฯ) ลำดับญาติ (ลุง ป้า น้า อา) ฐานันดรศักดิ์ (พ่อเป็นหม่อมราชวงศ์ ลูกเป็นหม่อมหลวง) วรรณะ
11. สถานภาพโดยกำเนิด
12. ทางอ้อม : เรียนรู้โดยการสังเกต เลียนแบบ
13. มีความสัมพันธ์ กระทำต่อกันทางสังคม
14. การขัดเกลาทางสังคม คือ กระบวนการเรียนรู้สถานภาพ บทบาท
14.1. รูปแบบการขัดเกลา
14.1.1. ทางตรง : ชี้แนะ อบรม ว่ากล่าวสั่งสอน
14.2. เป็นกระบวนการทางจิตวิทยา
14.3. ตัวแทนการขัดเกลา
14.3.1. ครอบครัว : พื้นฐานที่สุด ใกล้ชิด สำคัญสุด
14.3.2. ครู อาจารย์
14.3.3. สื่อมวลชน
14.3.3.1. กลุ่มเพื่อน
14.3.4. ศาสนา
14.3.5. เพื่อนร่วมอาชีพ
15. การแก้ปัญหาและแนวทางการพัฒนาสังคม
15.1. ปัญหาสังคมไทย
15.1.1. คือ สภาวะการณ์ที่คนส่วนใหญ่มองว่าเป็นสิ่งไม่ดี ไม่พึงประสงค์ต่อความปลอดภัยทางชีวิตและทรัพย์สิน จำเป็นต้องแก้ไข
15.1.2. ตัวอย่าง
15.1.2.1. ปัญหาความยากจน
15.1.2.2. ยาเสพติด
15.1.2.3. สิ่งแวดล้อม
15.1.2.4. ทุจริตคอร์รัปชัน
15.1.2.5. การศึกษาล้าหลัง
15.2. แนวทางการพัฒนาสังคมไทย
15.2.1. จิตสาธารณะ
16. สังคมคืออะไร
16.1. กลุ่มคนขนาดใหญ่อาศัยอยู่ร่วมกัน มีความสัมพันธ์กัน มีวัฒนธรรมเป็นของตัวเองสืบทอด มีภูมิลำเนาเป็นหลักแหล่ง
16.2. ลักษณะสังคม
16.2.1. มีดินแดน อาณาเขตที่แน่นอน
16.2.2. อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มถาวร
16.2.3. มีวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตของตนเอง
16.3. ทำไมต้องอยู่ร่วมกัน
16.3.1. ความจำเป็นทางกายภาพมนุษย์
16.3.2. ความจำเป็นต้องอยู่รอด
16.3.3. หาประโยชน์จากการอยู่ร่วมกัน ช่วยคิดช่วยทำ
16.3.4. มนุษย์ต้องสื่อสาร ใช้สัญลักษณ์ เป็นสัตว์สังคม
16.4. องค์ประกอบสังคม
16.4.1. จุดมุ่งหมายของการขัดเกลา
16.4.1.1. สอนให้รู้บทบาทที่สอดคล้องกับสถานภาพ
16.4.1.2. สร้างทักษะกระบวนการทางสังคม ทำให้คนอยู่กับคนอื่นได้
16.4.1.3. ปลูกฝังระเบียบวินัย
16.4.1.4. ปลูกฝังค่านิยม ความตั้งใจ
16.4.2. กลุ่มคน 2 คนขึ้นไป อาศัยอยู่อาณาเขตเดียวกัน ติดต่อกัน
16.4.2.1. กลุ่มปฐมภูมิ : ใกล้ชิด ส่วนตัว สนิทกัน
16.4.2.1.1. เช่น ครอบครัว เพื่อนบ้าน เพื่อน
16.4.2.2. กลุ่มทุติยภูมิ : ความสัมพันธ์แบบทางการ ติดต่อกันตามสถานภาพ
16.4.2.2.1. เช่น การสมัครเข้าทำงาน เข้าเรียน การซื้อของ ขายของ ครู-นักเรียน พ่อค้า-ลูกค้า กระเป๋ารถเมล์-คนนั่งรถเมล์
16.4.3. สถานภาพ คือ ตำแหน่งฐานะของบุคคล
16.4.3.1. สถานภาพจากความสามารถ/ได้มาภายหลัง
16.4.3.1.1. เช่น อาชีพ (นักเรียน ครู) การศึกษา ความเป็นพ่อแม่ สามี ภรรยา
16.4.4. บทบาท คือ หน้าที่ความรับผิดชอบที่ต้องทำตามสถานภาพของตัวเอง ซึ่งสังคมคาดหวังให้ทำ
16.4.4.1. เช่น สถานภาพพ่อ บทบาทคือ ดูแลสมาชิกในครอบครัว , สถานภาพครู บทบาทคือ อบรมสั่งสอนให้ความรู้แก่นักเรียน
16.4.4.2. บุคคลจะแสดงบทบาทไม่ได้ถ้าไม่มีคู่แสดงบทบาท
16.4.4.3. การไม่รู้และไม่เข้าใจบทบาท แก้ไขได้โดยผ่านกระบวนการขัดเกลาทางสังคม