Hypertensive disorder in pregnancy

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Hypertensive disorder in pregnancy by Mind Map: Hypertensive disorder in pregnancy

1. Complication

1.1. มารดา

1.1.1. หัวใจทำงานล้มเหลว

1.1.2. อันตรายจากภาวะชัก

1.1.3. เสียเลือดและช็อคจากรกลอกตัวก่อนกำหนด ตกเลือดหลังคลอด

1.1.4. กลับเป็นความดันโลหิตซ้ำอีก

1.2. ทารก

1.2.1. ภาวะไตวายเฉียบพลัน จากเลือดไปเลี้ยงไตลดลง ทำให้ปัสสาวะน้อยลง ออกน้อยกว่า 30 cc/hr

1.2.2. ผลต่อทารก ได้แก่ 2.1 รกเสื่อม (placental insufficiency) ทำให้แท้งได้ (spontaneous abortion) หรือทารกเสียชีวิตในครรภ์ได้ 2.2 คลอดก่อนกำหนด เนื่องจากออกซิเจนไปเลี้ยงรกไม่เพียงพอ ทำให้รกเสื่อมเร็ว 2.3 รกลอกตัวก่อนกำหนด ทำให้ทารกขาดออกซิเจนและอาหาร ทำให้เสียชีวิตได้ โดยพบได้ร้อยละ 10-30 2.4 ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR: intrauterine growth restriction) เนื่องจากได้รับสารน้ำสารอาหารไม่เพียงพอ

2. Treatment

2.1. ตามระดับอาการ

2.1.1. 2.1.1 การสังเกตอาการบวมบริเวณมือและใบหน้า ถ้าตื่นนอนเช้าอาจบวมบริเวณก้นกบ อาการปวดศีรษะที่รุนแรงมากขึ้น อาการปวดบริเวณชายโครงขวาหรือปวดใต้ลิ้นปี่ มองเห็นภาพซ้อนหรือภาพไม่ชัด ปัสสาวะออกน้อยลง คลื่นไส้อาเจียน มีเลือดออกบริเวณเหงือก และการรับรู้วัน เวลา สถานที่ลดลง ถ้าพบอาการดังกล่าว ควรไปโรงพยาบาลทันทีไม่ต้องรอถึงวันนัด 2.1.2 สังเกตการณ์ดิ้นของทารกในครรภ์วันละ 3 ครั้ง ในขณะที่นอนตะแคงซ้าย โดยนับเมื่ออายุครรภ์ 27 สัปดาห์ขึ้นไปอย่างน้อยนานหนึ่งชั่วโมง โดยถ้าพบทารกดิ้น 3-4 ครั้งถือว่าปกติ ถ้าพบว่าเด็กดิ้นน้อยกว่า 3 ครั้ง หรือตลอดทั้งวันดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้ง ควรไปรับการรักษาตัวที่โรงพยาบาล 2.1.3 นอนพักในท่านอนตะแคง เพื่อลดอาการกดทับเส้นเลือด inferior vena cava ทำให้เลือดไหลเวียนทั่วร่างกายและเลือดไปเลี้ยงที่รกมากขึ้น 2.1.4 ควรชั่งน้ำหนักทุกวัน ถ้าน้ำหนักเพิ่มขึ้น 1.4 กิโลกรัมภายใน 24 ชั่วโมง หรือ 1.8 กิโลกรัมภายใน 3 วัน ควรไปตรวจเพื่อรับการรักษาในโรงพยาบาลทันที ไม่ต้องรอวันนัด 2.1.5 แนะนำการรับประทานอาหาร

3. Type

3.1. PIH

3.1.1. Pre eclampsia

3.1.1.1. Mild Pre eclampsia

3.1.1.1.1. BP < 160 / 110 mmHg

3.1.1.1.2. Proteinuria < 2 gm/l หรือ 1+, 2+

3.1.1.1.3. บวมกดบุ๋มฝ่าเท้า

3.1.1.2. Severe Pre eclampsia

3.1.1.2.1. BP > 160 / 110 mmHg

3.1.1.2.2. บวมกดบุ๋มหลังมือ หน้า

3.1.1.2.3. Proteinuria > 2 gm/l หรือ 3+, 4+

3.1.2. Eclampsia

3.1.2.1. Severe pre eclampsia+ชักเกร็ง

3.2. CHT

3.2.1. < 20 weeks

3.3. CHT+Superimposed pre - eclampsia

3.3.1. BP

3.3.1.1. บวม

3.3.1.1.1. Proteinuria

3.3.2. อ่ายุ> 35

3.3.2.1. โรคประจำตัว DM,HT,AKI

3.4. Transient HT

3.4.1. หายได้เองหลังึลอด 10 วัน

3.4.2. มีโอกาสเป็นซ้ำในครรภ์ต่อไป

3.4.3. ไม่บวม+ไม่พบ Proteinuria

4. Cause/Risk factor

4.1. กลไกกการสร้างภูมิคุ้มกัน

4.2. พันธุกรรม

4.3. ขาดสารอาหาร

4.4. การหดเกร็งของหลอดเลือด

4.5. Endothelial cell เปลี่ยน

4.6. H.Renin,Angiotensin

5. Pathology

6. Endothelial cell

6.1. Cerebral

6.1.1. สมองบวม

6.1.2. ระดับความรู้สึกคัว

6.1.3. Hyperreflexia

6.1.4. ชัก

6.2. RBC+Plt

6.2.1. HELLP syndrome

6.2.1.1. H

6.2.1.2. EL

6.2.1.3. LP

6.3. CO

6.3.1. vasospasm+HT

6.3.1.1. Preload

6.3.1.2. Afterload

6.4. Pulmonary edema

6.5. ไตขาดเลือด

6.5.1. ฺBUN,CR

6.5.2. GFR

6.5.3. Proteinuria

6.6. รกขาดเลือด

6.6.1. ได้ O2

6.6.2. รกเสื่อม

6.6.2.1. IUGR

7. Signs&Symptoms

7.1. BP

7.1.1. SBP

7.1.2. DBP

7.2. Weight

7.2.1. >0.5-1 kg/wk

7.3. Proteinuria

7.4. ปวดศีรษะ

7.5. เจ็บลิ้นปี่,ใต้ชายโครง

7.6. ตาพร่ามัว มองไม่เห็น

8. Diagnosis

8.1. ซักประวัติ

8.2. ตรวจร่างกาย

8.3. ตรวจ LAB