ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล by Mind Map: ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล

1. 1.2 ความเป็นมาของการจัดการฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูลกำเนิดขึ้นจากโครงการอพอลโลของสหรัฐอเมริกา ที่ส่งมนุษย์อวกาศไปลงดวงจันทร์ ประมาณ 30ปีที่ผ่านมาซึ่งข้อมูลที่ใช้ในโครงการดังกล่าวจะต้องมีจำนวนมากมายการจัดการระบบข้อมูลในโครงการดังกล่าวจึงเกิดขึ้น โดยบริษัท IBM ได้รับจ้างในการพัฒนาระบบข้อมูลขึ้นเรียกว่า GUAM (Generalized Update Access Method) ต่อมาได้พัฒนาการจัดการข้อมูลขึ้นเพื่อใช้ในงานธุรกิจ ได้แก่ ระบบ DL/I (Data Language I) และพัฒนาจนมาเป็นระบบ IMS (InformationManagement System) ที่ใช้กันจนถึงปัจจุบัน

2. 1.3 ความสำคัญของการประมวลผลแบบระบบฐานข้อมูล

2.1. จากการจัดเก็บข้อมูลรวมเป็นฐานข้อมูลจะก่อให้เกิดประโยชน์ด้วยกันหลายประการ พอสรุปได้ดังนี้

2.1.1. 1.3.1 สามารถลดความซ้ าซ้อนของข้อมูลได้

2.1.2. 1.3.2 หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้

2.1.3. 1.3.3 สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้

2.1.4. 1.3.4 สามารถรักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล

2.1.5. 1.3.5 สามารถกำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันของข้อมูลได้

2.1.6. 1.3.6 สามารถกำหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้

2.1.7. 1.3.7 เกิดความเป็นอิสระของข้อมูล

3. 1.4 รูปแบบของระบบฐานข้อมูล รูปแบบของระบบฐานข้อมูล มีอยู่ด้วยกัน 3 ประเภท คือ

3.1. 1.4.1 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)

3.2. 1.4.2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database)

3.3. 1.4.3 ฐานข้อมูลแบบล าดับชั้น (Hierarchical Database)

4. 1.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศ ที่ประกอบด้วยรายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ที่จะนำมาใช้ในระบบงานต่างๆ ร่วมกัน

4.1. บิต ( Bit) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ไบต์ (Byte) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจา กการน า บิตมารวมกันเป็น ตัวอักขระ (Character) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่ประกอบขึ้นจากตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปมารวมกันแล้วได้ความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ ที่อยู่ เป็นต้น ระเบียน (Record) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการน าเอาเขตข้อมูลหลายๆ เขตข้อมูลมารวมกัน เพื่อเกิดเป็นข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น ข้อมูลของนักศึกษา 1ระเบียน (1คน) จะประกอบด้วย รหัสประจำตัวนักศึกษา ชื่อนักศึกษา ที่อยู่ เป็นต้น แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการน าข้อมูลหลายๆ ระเบียนที่เป็น เรื่องเดียวกันมารวมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษา แฟ้มข้อมูลลูกค้า แฟ้มข้อมูลพนักงาน เป็นต้น ส่วนในระบบฐานข้อมูล ก็จะมีค าศัพท์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องที่ควรรู้จัก ดังนี้ เอนติตี้ (Entity) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคานาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระท า ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนติตี้ลูกค้า เอนติตี้พนักงาน เป็นต้น บางเอนติตี้ อาจจะไม่มีความหมายเลย หากขาดเอนติตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนติตี้ประวัติ นักศึกษาจะไม่มีความหมาย หากปราศจากเอนติตี้นักศึกษา เพราะจะไม่ทราบว่า เป็นประวัติของ นักศึกษาคนใดเช่นนี้แล้วเอนติตี้ ประวัตินักศึกษา นับเป็นเอนติตี้ชนิดอ่อนแอ (Weak Entity/Dependent Entity) แอทตริบิวต์ (Attribute) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอน ติตี้หนึ่งๆ เช่น เอนติตี้นักศึกษา ประกอบด้วย แอทตริบิวต์รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา ที่อยู่นักศึกษา เป็นต้น

4.2. ความสัมพันธ์ (Relationships) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี้เช่นความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี้นักศึกษาและเอนติตี้ คณะวิชาเป็นลักษณะว่านักศึกษาแต่ละคนเรียนอยู่คณะวิชาใดคณะวิชาหนึ่ง เป็นต้น

4.2.1. 1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships)

4.2.2. 2 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships)

4.2.3. 3 ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships)

5. 1.5 โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้ โปรแกรมฐานข้อมูล เป็นโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่ช่วยจัดการข้อมูลหรือรายการ ต่างๆ ที่อยู่ในฐานข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นการจัดเก็บ การเรียกใช้ การปรับปรุงข้อมูล โปรแกรมฐานข้อมูล จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งโปรแกรม จึงจะขอกล่าวถึงโปรแกรมฐานข้อมูลบางโปรแกรมที่นิยมใช้กัน ได้แก่

5.1. 1.5.1 โปรแกรม Access

5.2. 1.5.2โปรแกรมFoxPro

5.3. 1.5.3 โปรแกรม dBASE

5.4. 1.5.4 โปรแกรม SQL

6. 1.6 สรุป ความหมายของระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศ ที่ ประกอบด้วยรายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ที่จะนำมาใช้ในระบบงานต่างๆ ร่วมกัน ค าศัพท์ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล มีค าศัพท์ต่าง ๆ เช่น บิต (Bit) ไบต์ (Byte) เขตข้อมูล (Field) ระเบียน (Record) แฟ้มข้อมูล (File) ส่วนในระบบฐานข้อมูล ก็จะมีค าศัพท์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องที่ควร รู้จัก เช่น เอนติตี้ (Entity) แอทตริบิวต์ (Attribute) ความสัมพันธ์ (Relationships) ส่วนรูปแบบของระ บบฐา นข้อมู ล มีอยู่ด้วย กัน 3 ประเ ภท คื อ ฐา นข้อมู ลเชิง สัมพัน ธ์ (Relational Database) ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database)และ ฐานข้อมูลแบบล าดับชั้น (Hierarchical Database) โปร แกรมฐาน ข้อมู ลที่นิย มใช้ โปร แกร ม Access โปร แกร ม FoxPro โปรแกรม dBASE โปรแกรม SQL โปรแกรม Oracle